การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ธีระพงษ์ แสงรักษาวงศ์
Advertisements

Introduction To Web Application
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
ระบบการจัดการเครือข่ายภายในคอนโด โดยใช้ระบบ Cloud Computing
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
JavaScript.
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
Intro : การเขียนโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
ซอฟต์แวร์.
PHP LANGUAGE.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
HTTP Client-Server.
World Wide Web WWW.
Ch 8 CGI & Perl Kulachatr C. Na Ayudhya.
อินเตอร์เน็ทเบื้องต้น
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง Active Server Pages (ASP)
Operating System ฉ NASA 4.
การติดตั้ง AppServ
Introduction to php Professional Home Page :PHP
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
การพัฒนาฐานข้อมูลบนเว็บ (Web Database Development)
PHP คืออะไร หลายคนที่ทำเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อทำ form สำหรับ รับค่าเช่น ชื่อ ที่อยู่
PHP.
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
What’s P2P.
PHP.
Introduction to ASP.NET
PHP ย่อมาจาก Personal Home Page
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
PHP:Hypertext Preprocessor
แนะนำภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์ และระบบฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
DHTML ง40208 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
ภาษาจาวาสคริปต์ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
1. 2  ในการใช้งานเว็บไซต์ โดยปกติเราจะไม่สามารถ ใช้งานตัวแปรที่มีลักษณะ Global ที่สามารถ นำไปใช้ได้กับเว็บเพจหน้าอื่นๆ ปกติในการใช้ งานค่าต่างๆ ของเว็บเพจ.
ผศ. พิเชษฐ์ ศิริรัตนไพศาลกุล
ฟังก์ชัน.
CHAPTER 3 System Variables and Array
Web Application Programming
หน่วยที่ 11 คำสั่งในการจัดรูปแบบเอกสาร
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
HTTP (Hyper Text Transfer Protocol )
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
Introduction to Web Programming
การพัฒนาโปรแกรมเสริมสำหรับการ แสดงวีดีโอจากเว็บไซต์ภายนอกใน เวิร์ดเพรส (Development plugin for displaying video from an external website in WordPress)
Web browser.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
Static Website รูปแบบของเว็บไซต์ Dynamic Website.
หลักการออกแบบเว็บไซต์
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ Web Base Application การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ

รายการเนื้อหา การติดต่อระหว่าง Web Server กับ Web Browser Web Server Static Webpage Dynamic Webpage

Client/Server System ในการทำงานของ Webpage จะอาศัย การทำงานในลักษณะClient/Server คือ ระบบคอมพิวเตอร์ จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 ส่วนที่ทำงานร่วมกันผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็น Server และเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็น Client โดยปกติ เครื่อง Server เพียงเครื่องเดียว ส่วน Client จะมีจำนวนตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป ด้วยเหตุผลดังกล่าวในระบบ Webpage ก็จำเป็นจะต้องมีโปรแกรมที่ทำงานอยู่บนเครื่อง Server และโปรแกรมที่ทำงานบนเครื่อง Client.

Web Server / Browser คอมพิวเตอร์ที่เป็น Server ในความหมายของ Internet คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งโปรแกรม Web Server เช่น โปรแกรม Internet Information Server (IIS), Personal Web Server (PWS),Apache (Freeware) ไว้ ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น Client จะได้แก่เครื่องที่มีการติดตั้งโปรแกรม Browser เช่น โปรแกรม Internet Explorer, Netscape ไว้

Web Server / Browser ซึ่งในกรณีที่เครื่องที่ทำหน้าที่เป็น Web Server และ Client อยู่กันคนละเครื่อง จะเรียกการติดต่อระหว่างเครื่อง Web Server กับ Client ว่าเป็นการติดต่อแบบ Remote Connection แต่ถ้าเครื่องที่ทำหน้าที่เป็น Web Server และ Client อยู่ในเครื่องเดียวกัน จะเรียกการติดต่อระหว่างWeb Server กับ Client ว่าเป็นการติดต่อแบบ Local Connection Remote Server Client

Web Server / Browser Browser การทำงานของโปรแกรม Web Server และโปรแกรม Web Browser จะมีการทำงานที่สัมพันธ์กัน คือ Browser จะเป็นส่วนติดต่อกับผู้ใช้ จึงมีหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้ และนำข้อมูลที่ส่งกลับมาจาก Web Server มาแสดงผล Client Browser Web Server

Web Server / Browser ส่วนหน้าที่หลักของ Web Server คือ จะทำการจัดเก็บ, ประมวลผลและทำการส่งข้อมูลของ Web Pages ไปแสดงผลที่ Web Browser ตามความต้องการที่ส่งมาจากโปรแกรม Web Browser Web Server Client / Browser ส่งข้อมูลตามที่ร้องขอ ร้องขอข้อมูล HTML, CGI, Image…

Static Web Page Static web page

Dynamic Web Page เว็บไซต์แบบ Dynamic คือเป็นเว็บที่ผู้ใช้ หรือผู้ดูแลเว็บ(Web Master) สามารถที่จะ update ข้อมูลในเว็บไซต์สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ โดยอาศัยหลักการของ CGI หรือ Common Gateway Interface คือ การรับข้อมูล จาก Client ไปประมวลผลที่ Server และส่งผลลัพธ์กลับไปให้ Cilent ภาษาโปรแกรมที่สนับสนุนหลักการทำงานของ CGI มีหลายภาษา แต่ที่ใช้กันโดยส่วนใหญ่ มีอยู่กัน 3 ภาษาหลัก ๆ ได้แก่ Perl PHP ASP

Dynamic Web Page Webpage ที่มีลักษณะเป็น Dynamic 1. เว็บเพจแบบ Dynamic ที่ฝั่ง Server : จะมีการทำงานที่ Server แล้วส่งผลที่ได้ไปแสดงที่ Browser เช่น ASP, PHP, JSP เป็นต้น 2. เว็บเพจแบบ Dynamic ที่ฝั่ง Client : จะมีการทำงานที่ฝั่งผู้ใช้งานโดยจะมีการเปลี่ยนสภาพแวดล้อมตามผู้ใช้งาน เช่น DHTML, JavaScript, เป็นต้น

Script Program โปรแกรม Script จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. โปรแกรม Client-Side Script 2. โปรแกรม Server-Side Script

Script เว็บเพจที่กำหนดการกระทำต่างๆเพื่อสามารถรองรับสถานการณ์ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นได้ทันที Client-Side Script จะถูกแปล Script โดย Browser เช่น VBScript, JavaScript Server-Side Script จะถูกแปลและประมวลผลโดย Web Server เช่น ASP , PHP ,JSP

ข้อดี-ข้อเสียของโปรแกรม Client-Side Script และ Server-Side Script Client-Side Script จะถูกแปลและประมวลผลที่ Browser ซึ่งไม่ผ่านระบบเครือข่าย ส่วน Server-Side Script จะประมวลผลที่ Web Server ซึ่งต้องผ่านระบบเครือข่าย ดังนั้น Client-Side Script จึงสามารถลดภาระของ Web Server ซึ่งเป็นผลให้ “Response Time” เร็วกว่าโปรแกรม Server-Side Script Client-Side Script Web Server Client มี Response Time ที่เร็ว

ข้อดี-ข้อเสียของโปรแกรม Client-Side Script และ Server-Side Script ข้อจำกัดของ Client-Side Script ได้แก่ โปรแกรมที่พัฒนาด้วย Client-Side Script ในภาษาใดภาษาหนึ่ง อาจไม่สามารถนำไปใช้งานกับ Browser ที่ต่างกันได้ เช่น Internet Explorer สามารถใช้ภาษา VBScript และ Jscript ได้ Netscape สามารถใช้ภาษา JavaScript ได้ ซึ่งต่างจากโปรแกรม Server-Side Script ที่ไม่ขึ้นอยู่กับตัว Browser

ข้อดี-ข้อเสียของโปรแกรม Client-Side Script และ Server-Side Script คำสั่งต่างๆ ที่เป็น Client-Side Script สามารถเรียกดูได้ด้วยโปรแกรม Browser ดังนั้นจึงเสี่ยงต่อการถูกสำเนาโปรแกรม Client-Side Script ไปใช้โดยผู้อื่น ส่วนโปรแกรมที่เป็นลักษณะ Server-Side Script นั้นจะไม่พบปัญหาดังกล่าวนี้ เนื่องจากตัวโปรแกรม script จะอยู่ในส่วนของ Web Server และ Web Server จะส่งเพียงผลลัพธ์ที่ได้จาก Script นั้นๆ ไปยัง Browser เท่านั้น ซึ่งอยู่ในรูป HTML ที่ไม่มีส่วนประกอบของคำสั่ง Server-Side Script

ภาษา PHP PHP ย่อมาจาก Personal Home Pages ซึ่งเป็นภาษาสคริปต์ที่ถูกฝัง ในเว็บเพจ โดยเว็บเพจที่มีสคริปต์ PHP แทรกอยู่นั้นจะทำงานที่เว็บ เซิร์ฟเวอร์ (Server-Side Script) คือ จะถูกประมวลผลการทำงานที่ เซิร์ฟเวอร์ก่อน แล้วจึงส่งผลการทำงานที่เป็น HTML มาแสดงผลที่ Browser ของผู้ใช้งาน

Resource ที่ใช้ในการพัฒนา Dynamic Web Application โปรแกรม Web Server เพื่อจำลองเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถบริการการเรียกดูข้อมูลเอกสารเว็บ ผ่านโปรแกรม Web Browser ได้ -> Apache ภาษาโปรแกรมที่สนับสนุนหลักการทำงานการทำงานของ CGI -> PHP โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล -> MySQL โปรแกรมช่วยจัดการฐานข้อมูล -> PhpMyAdmin Appserv

Q & A