เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
เศรษฐกิจ พอเพียง.
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
เศรษฐกิจพอเพียง.
โครงงาน โรงเรียนฝางวิทยายน ผู้จัดทำ 1.นายสุทิน สีละโคตร เลขที่11
เศรษฐกิจพอเพียง.
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ นันทิตา ชนปทาธิป ชั้นป.4/2 เลขที่28
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านขุนอมแฮดนอก อำเภอ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ 25 มิถุนายน 2552.
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำร่อง: บ้านอมแรด อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 13 สิงหาคม 2552.
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
เกษตรทฤษฎีใหม่.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
By Supach Futrakul. By Supach Futrakul ณ หมู่บ้านแห่งหนึ่งมีเป็นหมู่บ้านที่จนมากอยู่บนภูเขาที่มีความแห้งแล้งมาก.
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร.
เศรษฐกิจพอเพียง " จะสำเร็จได้ด้วย " ความพอดีของตน " จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ระดับ ปวช 1 กลุ่ม 3 เลขที่ 17 แผนกช่างยนต์ เสนออาจารสมคิด มีมะจำ.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่ ทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางหรือหลักในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำเพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำริเพื่อเป็นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยากลำบาก ให้สามารถผ่านช่วงวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนนำได้โดยไม่เดือดร้อนและยากลำบากนัก

การดำเนินงานตามทฤษฏีใหม่มี 3 ขั้นตอน คือ 1. การผลิต ให้พึ่งตนเองด้วยวิธีง่าย ค่อยเป็นค่อยไปตามกำลัง ให้พอมีพอกิน 2. การรวมพลังกันในรูปแบบ หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกัน ในด้านการผลิต การตลาด ความเป็นอยู่ สวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา 3. การดำเนินธุรกิจโดยธุรกิจโดยติดต่อ ประสานงาน จัดหาทุนหรือแหล่งเงิน

ในขั้นแรกที่เป็นการผลิต ถือเป็นขั้นสำคัญที่สุด แบ่งออกเป็น 4 ส่วน 30 : 30 : 30 : 10

ขุดสระน้ำ พื้นที่ประมาณ 30 ให้ขุดสระเก็บกักน้ำ เพื่อให้มีน้ำใช้สม่ำเสมอตลอดปี โดยเก็บกักน้ำฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ระยะฝนทิ้งช่วง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์ และพืชน้ำต่าง ๆ เช่น ผักบุ้ง ผักกระเฉด โสน ฯลฯ

ปลูกข้าว พื้นที่ประมาณ 30 ให้ปลูกข้าว ในฤดูฝน เพื่อใช้เป็นอาหารประจำวันสำหรับครัวเรือนให้เพียงพอตลอดปี โดยไม่ต้องซื้อหาในราคาแพง เป็นการลดค่าใช้จ่าย และสามารถพึ่งพาตนเองได้

ปลูกผลไม้ ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก ปลูกผลไม้ ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก พื้นที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก พืชสมุนไพร ฯลฯ อย่างผสมผสานกัน และหลากหลายในพื้นที่เดียวกัน เพื่อใช้เป็นอาหารประจำวัน หากเหลือจากการบริโภคก็นำไปขายได้

เป็นที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ พื้นที่ประมาณ 10 % เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง คันดิน โรงเรือนและสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ รวมทั้งคอกเลี้ยงสัตว์ เรือนเพาะชำ ฉางเก็บผลิตผลการเกษตร ฯลฯ

หลักการและแนวทางสำคัญในการดำเนินงานเกษตรตามแนว “ ทฤษฏีใหม่ ” ที่ควรทราบดังนี้ - เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน - ต้องมีพื้นที่ส่วนหนึ่งทำนาข้าว เพราะข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนต้องปลูกเพื่อให้ข้าวพอบริโภคตลอดทั้งปี - ต้องมีน้ำสำรองไว้ใช้ให้พอเพียงตลอดปี เพื่อการเพาะปลูกในระยะฝนทิ้งช่วง หรือ ฤดูแล้ง

ใช้อัตราส่วน 30:30:30:10 ในการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ไม่ว่าพื้นที่ถือครองน้อยกว่าหรือมากกว่า 15 ไร่ คือ 30 % ใช้ขุดสระเก็บกักน้ำ 30 % ใช้ปลูกข้าว 30 % ใช้ปลูกพืชผัก ผลไม้ พืชไร่ ไม้ยืนต้น 10 % ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและ อื่น ๆ

ประโยชน์ของ ทฤษฎีใหม่ สรุปได้ดังนี้ - ประชาชนพออยู่พอกินในระดับประหยัด เลี้ยงตนเองได้ ไม่อดอยาก ตามหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” -ในหน้าแล้งก็สามารถนำน้ำที่เก็บกับไว้ในสระมาปลูกพืชใช้น้ำน้อย เช่น ถั่วต่าง ๆ โดย ไม่ต้องอาศัยน้ำชลประทาน

- ในปีที่ฝนตกต้องตามฤดูกาล ก็สามารถสร้างรายได้ ให้ร่ำรวยได้ - ในกรณีที่เกิดอุทกภัย ก็ สามารถฟื้นตัว และช่วยเหลือตนเองได้ในระดับหนึ่ง โดยราชการไม่ต้องช่วยเหลือมากนัก

ในการจัดการเกษตรตามแนวทฤษฏีใหม่ให้เกิดประโยชน์ประสิทธิภาพนั้นประเด็นสำคัญ คือ การพึ่งตนเอง ประหยัด มัธยัสถ์ ก่อให้เกิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยการจัดการแบ่งพื้นที่ให้สัมพันธ์กัน และเกื้อกูลกัน ซึ่งเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน น้ำแรงงาน และรักษาสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น อันจะนำไปสู่การผลิตที่เกิดรายได้ และสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน