มหาวิทยาลัยนครพนม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

ง า น วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
 การสอนแบบอภิปราย.
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา (CIPPA Model)
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
“Backward” Unit Design?
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่องเลขยกกำลัง วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ข้อควรคิดในการใช้สื่อการ เรียนการสอนหลักการใช้สื่อ การสอน.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
การใช้กิจกรรมกลุ่มเกมแข่งขันเพื่อส่งเสริมความรู้ด้านไวยากรณ์และความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
โดย...นางสาวสุติมา มีแย้ม วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มหาวิทยาลัยนครพนม

เสนอ

Student Teams - Achievement Division (STAD)

การจัดการเรียนรู้แบบ STAD หมายถึง รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้อีกรูปแบบหนึ่ง ที่มีชื่อเต็มว่า Student Teams Achievement Divisions เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งกำหนดให้นักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มๆ ละ 4-5 คน ซึ่งประกอบด้วย นักเรียนที่เรียนเก่ง 1 คน นักเรียนที่เรียนปานกลาง 2-3 คน และนักเรียนที่เรียนอ่อน 1 คน

จุดประสงค์ เพื่อจูงใจผู้เรียนให้กระตือรือร้นกล้าแสดงออกและช่วยเหลือกันในการทำความเข้าใจเนื้อหานั้นๆ อย่างแท้จริง ซึ้งเป็นเทคนิคที่สามารถใช้ได้กับทุกวิชา ตั้งแต่คณิตศาสตร์ ศิลปะ ภาษา และสังคมศึกษา และใช้ได้กับประระดับประถมศึกษาจนถึงมหาวิทยาลัย

แนวคิด การสอนแบบ STAD พัฒนาขึ้นโดย Robert E. Slavin ผู้อำนวยการโครงการศึกษาระดับ ประถมศึกษาศูนย์วิจัยประสิทธิภาพการเรียนของผู้เรียนมีปัญหาทางด้านวิชาการ แห่งมหาวิทยาลัยจอห์นฮอฟกินส์ สหรัฐอเมริกา และเป็นผู้เชี่ยวชาญการสอนคณิตศาสตร์ Slavin ได้พัฒนาเทคนิคนี้ขึ้นเพื่อขจัดปัญหาทางการศึกษาโดยมุ่งเน้นทักษะการคิด การเรียนที่เป็นระบบ เป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับการเรียนเป็นกลุ่มและเป็นการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียน

องค์ประกอบสำคัญของเทคนิค STAD รางวัลของกลุ่ม ผลการรับผิดชอบรายบุคคล โอกาศความสำเร็จที่เท่าเทียมกัน

แนวทางการจัดการเรียนรู้ การสอนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD มี 5 ขั้นตอนหลักดังนี้ การนำเสนอข้อมูล การทำงานร่วมกัน การทดสอบ การปรับปรุงคะแนน การตัดสินผลงานของกลุ่ม

กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ STAD 1. การเตรียมการสอน 1.1 เนื้อหาของบทเรียน 1.2 การจัดกลุ่มผู้เรียน 2. รายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรม 2.1 การสอน (Teach) 2.2 การทำงานเป็นกลุ่ม ( Team study) 2.3 การทดสอบ (Test) 2.4 การตระหนังถึงความสำคัญของกลุ่ม (Team recognition)

ข้อดีและข้อจำกัด ของการเรียนแบบร่วมมือ STAD. ข้อดี. 1

ข้อจำกัด 1. ถ้าผู้เรียนขาดความรับผิดชอบจะส่งผลให้งานกลุ่มและการเรียนรู้ไม่ประสบความสำเร็จ 2. เป็นวิธีที่ผู้สอนจะต้องเตรียมการและดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดีจึงจะได้ผลทำให้ผู้สอนมีภาระงานเพิ่มมากขึ้น  

1. การจัดการเรียนรู้แบบ STAD ความหมายว่าอย่างไร? คำถาม ให้ตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. การจัดการเรียนรู้แบบ STAD ความหมายว่าอย่างไร? 2. STAD มีชื่อเต็มว่าอย่างไร? 3. รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือที่ Slavin ได้เสนอไว้มีองค์ประกอบที่สำคัญ ได้แก่อะไรบ้าง ? 4. กิจกรรมการเรียนแบบ STAD มีองค์ประกอบสำคัญอะไรบ้าง 5. จงบอกข้อดีและข้อจำกัด ของการเรียนแบบร่วมมือ STAD มาอย่างละ 1 ข้อ?  

สิ้นสุดการนำเสนอ ขอบคุณคะ

สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ประภาพร ยตะโคตร เลขที่ 13 G 2 2 สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ประภาพร ยตะโคตร เลขที่ 13 G 2 2. นางสาว จริยา วงศ์ชาชม เลขที่ 14 G2 3. นางสาว รัชญติยา อัคฮาด เลขที่ 15 G 2 4. นางสาว นฤมน ปารีสร้อย เลขที่ 23 G 2 5. นางสาว อรวรรณ สามหาดไทย เลขที่ 28 G2