สมาชิกในกลุ่ม การพัฒนาหรือการดำเนินการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
Advertisements

PCTG Model อริยมงคล 55.
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
หน่วยที่ 4.
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
การศึกษารายกรณี.
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
บทสรุป หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
มาตรฐานวิชาชีพครู.
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ผู้เรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผู้บริหารการศึกษาและศึกษานิเทศก์ เพื่อให้มีและเลื่อนวิทยฐานะ
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
หนังสือเรียน รายวิชา ขนมไทย วิชา ขนมไทย
Cooperative Education
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สุจิตรา บำรุงกาญจน์ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ภาคเหนือ
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
โดย กศน. จังหวัดเลย.  นายศรีวิชัย ตลับนาค  นายเฉลิมพณ หยาดหลั่งคำ  นายดุสิต สาระมโน  น. ส. สุธิดา พุทธทองศรี  น. ส. ปิยะฉัตร กมลรัตน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สมาชิกในกลุ่ม การพัฒนาหรือการดำเนินการ เกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น สมาชิกในกลุ่ม 1. นายศราวุฒิ มั่นคง รหัส 553732079 2. นายธันยธรณ์ คำเพียว รหัส 553732040 3. นางสาวอรพิน   สุภาวงศ์   รหัส 553732073 4. นางสาวอัจฉรา   กฐินเทศ รหัส 553732074 5. นางสาวณัฎจิตา บุญวรรณี รหัส 6. นางสาวพิกุลทอง อินทร์วงศ์ รหัส 547530033

ความหมายของหลักสูตรท้องถิ่น อุดม เชยกีวงศ์ กล่าวว่า หลักสูตรท้องถิ่น หมายถึง หลักสูตรที่สถานศึกษา หรือครูหรือผู้เรียนร่วมกันพัฒนาขึ้นเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้นำไปใช้ในชีวิตจริงเรียนแล้วเกิดการเรียนรู้ สามารถนำไปใช้อย่างมีคุณภาพและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมอย่างมีความสุข

ความหมายของหลักสูตรท้องถิ่น ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ กล่าวว่า หลักสูตรท้องถิ่น หมายถึง มวลประสบการณ์ที่สถานศึกษาหรือหน่วยงานและบุคคลในท้องถิ่นจัดให้แก่ผู้เรียนตามสภาพและความต้องการ ของท้องถิ่นนั้นๆ

ความหมายของหลักสูตรท้องถิ่น วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช์ กล่าวว่า หลักสูตรท้องถิ่น หมายถึง การนำหลักสูตรแกนกลางทั้งเอกสารหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร ที่พัฒนามาจากส่วนกลางมาปรับขยายหรือเพิ่ม หรือสร้างหลักสูตรย่อยขึ้นใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ และการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น

สรุปความหมายของหลักสูตรท้องถิ่น หลักสูตรท้องถิ่น หมายถึง หลักสูตรที่ครู สถานศึกษา ผู้เรียน และชุมชนหรือคนในท้องถิ่น ร่วมกันพัฒนาขึ้นเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้นำไปใช้ในชีวิตจริงแล้วเกิดการเรียนรู้สามารถนำไปใช้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสภาพปัญหาในชุมชน สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณสมบัติอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดี ของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ

กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ตามขั้นตอน ดังนี้ 1. จัดตั้งคณะทำงาน 2. ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน 3. กำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 4. เลือกและจัดเนื้อหาและประสบการณ์การเรียนรู้ 5. กำหนดเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6. ตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรก่อนนำไปใช้ 7. เสนอขออนุมัติใช้หลักสูตร 8. นำหลักสูตรไปใช้ 9. ประเมินหลักสูตร

การพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่นในสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน เมื่อปี พ.ศ. 2553

ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ 10 ตำบลช่างเคิ่ง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ 50270 โทรศัพท์ 0-5326-8642 โทรสาร 0-5326-8643 E-mail :srpk@life.com Website: www.rpk31.ac.th

กระบวนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ผู้ให้สัมภาษณ์ นายพนม บุญตอม ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย พัฒนาวิชาข้าวไทย (พันธุ์เหมยนอง) สาขาวิชางานเกษตร กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมีขั้นตอนหรือกระบวนการพัฒนา หลักสูตรท้องถิ่น ดังนี้ 1. ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน 2. ศึกษาปัญหาและความต้องการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยให้เป็นไป ตามมาตรฐานตัวชี้วัดกลุ่มสาระงานของหลักสูตรแกนกลาง ของสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2551

3. กำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร คือ ผู้เรียนสามารถรู้ถึงทฤษฎีและปฏิบัติจริงในกระบวนการ ผลิตข้าวไทย(พันธุ์เหมยนอง) รวมถึง ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่ใช้ในการผลิตข้าวไทย 4. เลือกและจัดเนื้อหาและประสบการณ์การเรียนรู้ โดยมีการประชุมร่วมภาคี 4 ฝ่าย มี ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษา ทำแบบสอบถามถึงความต้องการ และเลือกเนื้อหาเป็นหลักสูตรนี้ ซึ่งจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้ 4 หน่วย คือ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ข้าวไทยและการจำแนกพันธุ์ข้าวทางพฤษศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การปลูกข้าว (พันธุ์เหมยนอง) เป็นพันธุ์ข้าวดั้งเดิมของแม่แจ่ม รวมไปถึงวิธีการดูแลรักษาต้นข้าวอย่างถูกวิธี และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิธีการทำนาในรูปแบบต่างๆ และวิธีปฏิบัติดูแลรักษาข้าว หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเก็บเกี่ยวผลผลิต บอกถึงวิธีการใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์ เข้าใจวิธีการเก็บเกี่ยวข้าว หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การจัดการผลผลิต รู้ถึงวิธีการเก็บรักษา บริโภคและจำหน่าย

5. กำหนดเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการอิง ตามหลักสูตรแกนกลางของสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6. การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรก่อนนำไปใช้ โดยร่วมกับภาคี 4 ฝ่าย คือ ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษา 7. เสนอขออนุมัติใช้หลักสูตร โดย นำเสนอประธาน คณะกรรมการสถานศึกษาลงนามเพื่อใช้หลักสูตร 8. นำหลักสูตรไปใช้ โดยการบูรณาการเข้ากับกลุ่มสาระ การเรียนรู้ต่างๆ มีการนำวิทยากรหรือปราชญ์ในท้องถิ่นเข้ามาให้ความรู้ แก่ผู้เรียน ฝึกปฏิบัติจริง

*ยังไม่มีการประเมินหลักสูตร 9. ประเมินหลักสูตร ได้เตรียมการมีแบบสอบถามและแบบประเมิน โดยผู้สอนรายวิชา กับ ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษา นำมาวิเคราะห์ เพื่อเป็นผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรท้องถิ่นนี้ *ยังไม่มีการประเมินหลักสูตร เนื่องจากการนำหลักสูตรไปใช้ถึงหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องการปลูกข้าว และวิธีการดูแลรักษาต้นข้าวในนา

แผนผังการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตั้งคณะทำงาน 1ชุด ศึกษาปัญหาและความต้องการ วิเคราะห์ข้อมูลสรุป ( ข้าวไทย) กำหนดเกณฑ์การประเมินตามหลักสูตรแกนกลาง ภาคี 4 ฝ่ายเลือกและจัดเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้ กำหนดจุดมุ่งหมาย ผู้เรียนได้เรียนรู้ทฤษฎี + ปฏิบัติ อนุมัติใช้หลักสูตร โดยประธานคณะกรรมการ นำหลักสูตรไปใช้ บูรณาการเข้ากับกลุ่มสาระต่างๆ ตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร ประเมินหลักสูตร  (แบบสอบถาม+แบบประเมินตามหลักสูตร

ข้าวไทย (พันธุ์เหมยนอง) พันธุ์ข้าวดั้งเดิมของแม่แจ่ม

ภาพกิจกรรม

ภาพกิจกรรม

ภาพกิจกรรม