AI02 กูเกิ้ล: กลไกการสืบค้นข้อมูลบนระบบอินเทอร์เน็ต Google: the Internet System Search Engine อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธวัชวงศ์ ลาวัลย์ โดย นางสาวธัญพร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
Contents ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลกฎหมาย สำหรับนายอำเภอ
Slide :1. Slide :2 ข้อมูลบนเว็บไซต์มีจำนวนมากมายมหาศาลทำให้เข้าถึงได้ ยาก ผู้ใช้ต้องการข้อมูลที่ตรงกับความต้องการและสามารถสืบค้น ได้ง่าย พื้นฐานมาจากเทคนิคสืบค้นสารสนเทศในห้องสมุด.
ที่มาของเสิร์ชเอ็นจิน (Search Engine)
The Development of Document Management System with RDF
Top 5 Semantic Search Engines
ชื่อโครงการ (ภาษาไทย) การพัฒนารายวิชาหลักสูตรและการสอน ผ่านเว็บสำหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีในสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี (ภาษาอังกฤษ) DEVELOPMENT.
การค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต SRARCH ENGINE
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
Seminar in computer Science
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
Lecture 8 Database Output (Form and Report Design)
NU. Library Online Purchasing System
ระบบข้อสอบออนไลน์.
การสืบค้นข้อมูลบนระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
The automated web application testing (AWAT) system
วิธีการใช้งาน Google ค้นหาข้อมูล แบบติดจรวด
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
การสืบค้นสารสนเทศขั้นสูง (Advanced Information Retrieval)
วิชา การสืบค้นสารสนเทศ ขั้นสูง ( Advanced Information Retrieval ) รหัสวิชา (2-2)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
กรณีศึกษา : งานบริหารและธุรการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
Assignements 4 ICT in KM (KM703) Knowledge Management Program
Computer Seminar (310492) สัมมนาทางคอมพิวเตอร์
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
การสืบค้นทางคณิตศาสตร์
โครงการ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการบริหารงานบุคลากร
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
นางสาวพัชรินทร์ เหล็กดี ed12 B06 1 โดย นางสาวพัชรินทร์ เหล็กดี รหัสประจำตัวนิสิต เอกการประถมศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร์
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
กลยุทธ์การวางแผนสืบค้นข้อมูลบน WWW
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Data analysis for the making a decision with Business Intelligence
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
เว็บเพจ (Web Page).
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
การประเมินความเป็นเว็บช่วยสอน (Evaluation of Web-Based Instructin)
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
ระบบสารสนเทศ นางสาวศิรินภา สุกสว่าง B
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
การค้นหาสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

AI02 กูเกิ้ล: กลไกการสืบค้นข้อมูลบนระบบอินเทอร์เน็ต Google: the Internet System Search Engine อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธวัชวงศ์ ลาวัลย์ โดย นางสาวธัญพร ใจศิริ นางสาวหนึ่งนภา พันเหล็ก คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หัวเรื่อง ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 1 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2 สรุป 3

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า ความหมายของเสิร์ชเอนจิน (Search Engine) โครงสร้างการทำงานของเสิร์ชเอ็นจิน

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า ประเภทของ Search Engine แบบอาศัยการจัดเก็บข้อมูลเป็นหลัก Crawler-Based Search Engine [ http://www.google.com ]

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า แบบสารบัญเว็บไซต์ Web Directory [ http://www.dmoz.org ]

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า แบบอ้างอิงในชุดคำสั่งเมตะ Meta Search Engine [http://www.us.ixquick.com ]

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า ระบบการทำงานของกูเกิล (Google) Googlebot Index Server The query processor

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า ประเภทของ Google Robot Googlebot Google Deepbot Google Freshbot

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า เครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูล / ข่าวสารบนอินเทอร์เน็ต (Internet Search Engine) โดย นางสาวนงเยาว์ เปรมกมลเนตร สาขานิเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น งานวิจัยนี้เป็นการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องมือที่ช่วยค้นหาข้อมูล/ข่าวสารบนอินเทอร์เน็ต เพื่อหาวิธีช่วยในการเลือกใช้ Search Engine ให้ตรงกับกลุ่มข้อมูลที่ต้องการค้นหา มีกลวิธีในการค้นหาข้อมูลให้ประสบความสำเร็จสูงสุดโดยใช้ Search Engine

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า การศึกษาเปรียบเทียบ Search Engines บนอินเทอร์เน็ต โดย นางสาวทัศนีย์ สุตาจันทร์ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น งานวิจัยฉบับนี้ศึกษาเปรียบเทียบ Search Engine บนอินเทอร์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดช่วงปีพ.ศ 2543 จำนวน 5 ตัว ได้แก่ Alta Vista, Excite, Hotbot, Lycos และ Infoseek ทำการเปรียบเทียบประสิทธิผล Search Engine จากค่าอัตราส่วนความถูกต้องของข้อมูล

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า การใช้ Search Engine ในการสืบค้นสารสนเทศของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดย นางสาวนภาพรรณ จัตรุโพธิ์ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีความมุ่งหมายศึกษาปัญหาการใช้ Search Engine ในการสืบค้นสารสนเทศของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 341 คน ผลจากการวิจัยนิสิตมีวัตถุประสงค์ใช้ Search Engine เพื่อสืบค้นข้อมูลประกอบการเรียนรายวิชาต่างๆ มากที่สุด

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า อัลตาวิสตา: กลไกการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต (Alta Vista: the Internet Search Engine) โดยนายสุนัสริน หวังสุนทรชัย สาขายรรณารักษศาสตร์และนิเทศศาสตร์ คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น งานวิจัยฉบับนี้ศึกเกี่ยวกับวิธีการสืบค้นข้อมูลโดยใช้ Alta Vista ทำได้ 2 รูปแบบคือการสืบค้นแบบพื้นฐานหรืออย่างง่าย และการสืบค้นแบบขั้นสูง ผลจากการศึกษา ผู้ใช้โดยมากเมื่อทราบ URL ของกลไกการสืบค้น มักจะตรงเข้าไปพิมพ์คำค้นตามที่ต้องการทันทีทำให้เกิดปัญหาในลักษณะต่างๆ เช่น ข้อมูลที่เรียกค้นได้มากเกินไป

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาค้นคว้า เอ็กไซท์: กลไกการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต (Excite: the Internet Search) โดย นางสาวสุนัสริน บัวเลิศ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น งานวิจัยฉบับนี้ศึกษาเกี่ยวกับกลไกการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ของ Excite โดยกล่าวถึง ความสามารถด้านต่างๆ ในการสืบค้นข้อมูล ความสามารถในการแสดงผลการสืบค้น ตลอดจนเทคนิคการสืบค้น สรุปผลงานวิจัย กลไกการสืบค้น Excite เป็นอีกกลไกการสืบค้นหนึ่งที่มีประสิทธิภาพค่อนข้างสูงสามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างง่ายด้วยวิธีการค้นที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน

สรุป Google ได้ชื่อว่าเป็น Search Engine ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดอีกบริการหนึ่ง มีรูปแบบหน้าเว็บเพจที่เรียบง่าย เน้นการแสดงผลการสืบค้นที่รวดเร็ว มีการแสดงคำที่เกี่ยวข้องกับการสืบค้นด้วยตัวอักษรสีเข้ม ทำให้ทราบความเกี่ยวข้องของเรื่องที่กำลังสืบค้น ในขณะที่ Search Engine อื่นมักแสดงข้อความเพียงหนึ่งหรือสองบรรทัดของเว็บเพจ โดยไม่คำนึงว่าจะมีคำที่ใช้สืบค้นหรือไม่