มูลเหตจูงใจในการทำงาน เต็มใจสนับสนุนให้งานซึ่งเราศรัทธาประสบความสำเร็จ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมพัฒนานักศึกษา ด้านการให้คำปรึกษา
Advertisements

วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
กิจการนิสิต (Student Affairs)
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
สรุปบทเรียนบนเส้นทาง การพัฒนาคุณภาพ
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
มติชน มติชน Healthcare Healthcare “ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ” 17 กรกฎาคม 2552 ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมุกดาหาร จำกัด
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
นโยบายด้านบริหาร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
กลุ่ม 4 อนามัยผู้สูงอายุ
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มูลเหตจูงใจในการทำงาน เต็มใจสนับสนุนให้งานซึ่งเราศรัทธาประสบความสำเร็จ 1) ถูกชะตา 2) มีความศรัทธา อำนาจบารมี เต็มใจสนับสนุนให้งานซึ่งเราศรัทธาประสบความสำเร็จ

ความเป็นมาและความสำคัญ ในการเสริมสร้างสุขภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล มีความโดดเด่นด้านวิชา การและการบริการทางการแพทย์ มีโรงพยาบาลในสังกัด 4 แห่ง คือ โรงพยาบาลศิริราช, โรงพยาบาลรามาธิบดี, โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน, ศูนย์-แพทย์กาญจนาภิเษก และ คลินิกทันตกรรมพิเศษ

บริการผู้ป่วยจากภายนอกปีละมากมาย แต่ยัง มีบุคลากรของมหาวิทยาลัยจำนวนมากที่ไม่ได้ดูแล สุขภาพของตัวเองอย่างถูกต้อง ทั้งเรื่องโภชนาการ และการออกกำลังกาย มีปัญหาการเจ็บป่วยและโรค ประจำตัว หลายรายต้องเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร มหาวิทยาลัยมหิดล ตระหนักถึงปัญหาดัง- กล่าว และเห็นว่าจำเป็นต้องเสริมสร้างสุขภาพของ บุคลากรให้ดีขึ้น เมื่บุคลากรมีสุขภาพดีทั้งกายและ

ใจที่ดี ย่อมส่งผลให้มีประสิทธิภาพการปฏิบัติหน้า ที่การงานดีขึ้น อันจะยังประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย สังคม และประเทศชาติต่อไป

สภาพปัญหา การเสริมสร้างสุขภาพ - ไม่มีการวางระบบสำหรับสุขภาพ - สภาพที่ตั้งของมหาวิทยาลัยอยู่ห่าง ไกลกัน สภาพปัญหา การเสริมสร้างสุขภาพ - ไม่มีศูนย์กลางในการจัดการและชี้นำ ในการเสริมสร้างสุขภาพ - การวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆที่จำเป็น - มีงบประมาณจำกัด

แนวทางการเสริมสร้างสุขภาพ วิสัยทัศน์ บุคลากรของมหาวิทยาลัยมหิดล มีสุขภาพอนามัยถี่ถ้วนหน้า ภายในปี 2555 พันธกิจ ส่งเสริมบุคลากรให้ออกกำลังกายอย่างเหมาะสมกับสภาพร่างกายและอายุ ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพ อย่างน้อยปีละครั้ง

ยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จ -วางโครงข่ายชมรมทุกระดับ ทั้งคณะ / ยุทธศาสตร์ที่1 -แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเสริมสร้างสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่2 -ตั้งชมรมเสริมสร้างสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่3 -วางโครงข่ายชมรมทุกระดับ ทั้งคณะ / ภาควิชา / แผนก ยุทธศาสตร์ที่4 -จัดตั้งกองทุนเสริมสร้างสุขภาพ

ยุทธศาสตร์ที่5 -จัดกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธ์ จูงใจบุคลากรเสริมสร้างสุขภาพ และหารายได้เข้ากองทุน 5.1 -วิ่งเพื่อสุขภาพ 5.2 - แข่งขันจักรยานแรลลี่ 5.3 - แข่งขันโบลิ่งชิงถ้วย..... 5.4 - แข่งขันเปตองชิงถ้วย....

ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ 1) จำนวนบุคลากรที่เป็นสมาชิกชมรมเสริมสร้างสุขภาพ เพิ่มขึ้นทุกปี จนถึงร้อยละ 80 ของจำนวนบุคลากร 2) จำนวนบุคลากรที่ออกกำลังกายเพิ่มขึ้นทุกปี ปีร้อยละ 20 จนถึงร้อยละ 80 3) จำนวนบุคลากรที่มีน้ำหนักเกินลดลงทุกปี ปีละร้อยละ 20 จนเหลือร้อยละไม่เกิน 80

4) จำนวนบุคลากรผู้ดื่มสุราลดลงทุกปี ปีละร้อยละ 20 จนเหลือไม่เกินร้อยละ 10 ของผู้ดื่มสุราในปัจจุบัน 5) จำนวนบุคลากรผู้สูบบุหรี่ลดลงทุกปี ปีละร้อยละ 20 จนเหลือไม่เกินร้อยละ 10 ของผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบัน 6) จำนวนบุคลากร ที่เบิกเงินค่ารักษาพยาบาลลดลง

คณะอนุกรรมการการส่งเสริมสุขภาพ และออกกำลังกาย ผ.ศ.ถาวร กมุทศรี ที่ปรึกษา ที่ปรึกษาจากภายนอก

นายเกรียงไกร ตั้งสุขเกษมสันติ์ นายเกรียงไกร ตั้งสุขเกษมสันติ์ ประธานอนุกรรมการ นายสละ พิมพ์สำเภา รองประธานอนุกรรมการ

นายสุทธินันต์ ชลิทธิกุล อนุกรรมการและเลขานุการ นายฉัตรชัย เชิงทวี นายสุทธินันต์ ชลิทธิกุล อนุกรรมการและเลขานุการ นายฉัตรชัย เชิงทวี อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผศ.อารมณ์ ตรีราช อนุกรรมการ นายสมชาย วิริยภิรมย์กูลอนุกรรมการ

นางอริศรา ตั้งจิตสราญอนุกรรมการ นางอริศรา ตั้งจิตสราญอนุกรรมการ นส.อำภา สุจิณโณ อนุกรรมการ นางนันท์พร จิตรเพ็ชร อนุกรรมการ นายแดง ลมสูงเนิน อนุกรรมการ