ทำอย่างไรจึงจะก้าวหน้าในอาชีพ สำหรับผู้ปฏิบัติงานพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
เทคนิคการเขียน คู่มือการปฏิบัติงานหลัก
Workshop process management
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การเตรียมตัว สู่ตำแหน่งวิชาการ
เส้นทางสู่......ความเป็นชำนาญการ สำหรับพยาบาล
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
ส่วนการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
Management Information Systems
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ หน่วยงานภายในกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ กรณีตำแหน่งนอกเลื่อนไหล และ ตำแหน่งว่างในสังกัด สสจ./รพศ.,
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
การเขียนข้อเสนอโครงการ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทำอย่างไรจึงจะก้าวหน้าในอาชีพ สำหรับผู้ปฏิบัติงานพยาบาล ทำอย่างไรจึงจะก้าวหน้าในอาชีพ สำหรับผู้ปฏิบัติงานพยาบาล นางสาว ชรัสนิกูล ยิ้มบุญณะ และคณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช

นางศิริรัตน์ พิชิตชัยชาญ ประธานกรรมการฯ คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางศิริรัตน์ พิชิตชัยชาญ ประธานกรรมการฯ 2

นางสาว ปรีดาภรณ์ สีปากดี คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางสาว ปรีดาภรณ์ สีปากดี ผู้ทรงคุณวุฒิ 3

งานฯ กุมาร (พัฒนาการเด็ก) คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางสาวโสพิน สุวรกุล งานฯ กุมาร (เจ้าฟ้า 6 ) โทร. 5844-5 นางสมศรี แสงสว่างชัย งานฯ กุมาร (พัฒนาการเด็ก) โทร. 5843 4

นางสาวสารินท์ ตรีพนากร คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางสาวสารินท์ ตรีพนากร งานฯ จักษุฯ (ผะอบ 6 ) โทร. 7393-4 นางสุมาลี แสงมณี งานฯ จักษุฯ โทร. 4120-1 5 5

คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางศันสนีย์ อินทร์มีสุข งานฯ ตรวจรักษาผู้ป่วยนอก (OPD ศัลย์) โทร. 7355-6,9234 นางมนตบงกช กนกนันทพงศ์ งานฯ ตรวจรักษาผู้ป่วยนอก (OPD จักษุฯ) โทร. 7399,7400 6 6

นางสาววิลาวัณย์ อาชวกุลเทพ คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางวัลลภา สังฆโสภณ งานฯ พิเศษ โทร. 8521 นางสาววิลาวัณย์ อาชวกุลเทพ งานฯ พิเศษ โทร. 8585 7

นางดารณี พิพัฒนกุลชัย นางสาวมณฑิชา กฤษบุญชู คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางดารณี พิพัฒนกุลชัย งานฯ ผ่าตัด โทร. 7984 นางสาวมณฑิชา กฤษบุญชู งานฯ ผ่าตัด (OPD อุบัติเหตุ)โทร. 7708 8

นางสาวจิราภรรณ ทองสุโชติ คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางสาวจิราภรรณ ทองสุโชติ งานฯ รังสีวิทยา โทร. 8541 9 9

งานฯ ศัลยศาสตร์ฯ (ฉก.10 ต.)โทร. 4356-7 นางสาวสุวภาพ จันทรสมบูรณ์ คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นายเรวัตร ออกแม้น งานฯ ศัลยศาสตร์ฯ (ฉก.10 ต.)โทร. 4356-7 นางสาวสุวภาพ จันทรสมบูรณ์ งานฯ ศัลยศาสตร์ฯ โทร. 9202 10 10

นางสุจิตตรา พงศ์ประสบชัย คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางสาวอัมพร คงจีระ งานฯ สูติศาสตร์ฯ โทร.4741 นางสุจิตตรา พงศ์ประสบชัย งานฯ สูติศาสตร์ฯ โทร. 8815 11

นางสาวเปี่ยมลาภ โสภาษิต คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางสาวเปี่ยมลาภ โสภาษิต งานฯ อายุรศาสตร์ฯ โทร.7700,7805 ต่อ106 นางสาวเดือนน้อย ใบคำ งานฯ อายุรศาสตร์ฯ โทร.7700,7805 ต่อ104 12

คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช นางสาวชรัสนิกูล ยิ้มบุญณะ เลขานุการฯ งานวิจัยและสารสนเทศฯโทร.7811,9045 นางสาวราตรี ฉิมฉลอง ผู้ช่วยเลขานุการฯ งานวิจัยและสารสนเทศฯโทร.7811,9045 13

นางสาว ถนอมศรี สีหาโม้ นางสาว จันทนา นามเทพ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป งานทรัพยากรบุคคล ฝ่ายการพยาบาลฯ โทร 9063 นางสาว จันทนา นามเทพ งานวิจัยและสารสนเทศฯโทร.7811,9045 14

เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย   มีจริยธรรม  ไม่อยู่ระหว่างการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง  มีเวลาในการปฏิบัติงานจริงไม่น้อยกว่า 1,380 ชั่วโมงต่อปี

เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ PN ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย ชำนาญงาน 1.คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย ไม่น้อยกว่า 10 ปี ปฏิบัติงานในตำแหน่งที่ เสนอขอมาแล้วไม่น้อย กว่า 5 ปี

เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ PN ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย ชำนาญงาน 2. สมรรถนะ (หน.งานต้องประเมินไม่อยู่ในระดับ “ดี” ) 2.1 ความยึดมั่นในคุณธรรม 2.2 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2.3 ความรับผิดชอบในงาน 2.4 การทำงานเป็นทีม 2.5 การวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ 2.6 การสั่งสมความรู้ในงานและการประยุกต์ใช้ 2.7 การแก้ไขปัญหา 2.8 การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2.9 ความละเอียดรอบคอบ

เปรียบเทียบ PN ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย ชำนาญงาน ผลงาน 2 เรื่อง 1 ต้องเป็นคู่มือปฏิบัติงาน 2. อื่นๆ อาจเป็น งานวิจัย หรืองานวิเคราะห์/งานสังเคราะห์ หรือ บทความวิชาการ หรือ เอกสารประกอบการบรรยาย (จำนวน 3 หัวข้อเทียบได้กับ 1เรื่อง) หรือ ตำรา หรือ หนังสือ หรือ ผลงานวิชาการอื่นๆ เช่น นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์

เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ PN ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย ชำนาญการ คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ดำรงตำแหน่งชำนาญงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี กรณีที่ข้าราชการเปลี่ยนสถานภาพมาเป็น พม. ให้นับรวมระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งเดิมได้

เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ PN ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย ชำนาญการ 2. สมรรถนะ (หน.งานต้องประเมินไม่อยู่ในระดับ “ดี” ) 2.1 ความยึดมั่นในคุณธรรม 2.2 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2.3 ความรับผิดชอบในงาน 2.4 การทำงานเป็นทีม 2.5 การวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบ 2.6 การสั่งสมความรู้ในงานและการประยุกต์ใช้ 2.7 การแก้ไขปัญหา 2.8 การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2.9 ความละเอียดรอบคอบ 2.10 ความคิดเชิงวิเคราะห์ 2.11 ความเป็นผู้นำ 2.12 ศักยภาพเพื่อนำการปรับเปลี่ยน 20

เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ PN ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย ชำนาญการ ผลงาน อย่างน้อย 3 เรื่อง มีคุณภาพในระดับ “ดี ” และมีอย่างน้อย 2 เรื่องซึ่ง ผู้เสนอขอเป็นผู้ดำเนินการหลัก หรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author โดยไม่กำหนดจำนวนร้อยละการมีส่วนร่วมในผลงานนั้นๆ

เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ PN ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย ชำนาญการ ผลงานต้องประกอบด้วย 1.และ 2. ดังนี้ 1.งานวิเคราะห์เพื่อการพัฒนางานและปรับปรุงงานในมหาวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งผู้เสนอขอเป็นผู้ดำเนินการหลัก และสามารถนำไปประยุกต์ใช้หรืออ้างอิงได้ และ

เปรียบเทียบการขอกำหนดตำแหน่งของ PN ข้าราชการ VS พม. พนักงานมหาวิทยาลัย PN 6 (เฉพาะตัว) ชำนาญการ 2. งานวิจัย หรือคู่มือปฏิบัติงาน หรือบทความทางวิชาการ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย (เอกสารประกอบการบรรยาย จำนวน 3 หัวข้อเทียบได้กับ 1 เรื่อง/ชิ้น) หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

ผลงาน ผลงานที่แสดงให้เห็นถึงทักษะ ความรู้ ความ สามารถ ความชำนาญ และผลสัมฤทธิ์ของงาน ▪ คู่มือปฏิบัติงาน ▪ นวัตกรรม ▪ งานวิเคราะห์/สังเคราะห์ ▪ บทความวิชาการ ▪ อื่นๆ

ตัวอย่าง (ร่าง) คู่มือปฏิบัติงาน บทที่ 1 : หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของคู่มือ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตหรือ ข้อจำกัด คำจำกัดความเบื้องต้น ข้อตกลงเบื้องต้น บทที่ 2 : บทบาทหน้าที่รับผิดชอบ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ โครงสร้างการบริหารจัดการ บทที่ 3 : การทบทวนความรู้ตามหลักวิชาการเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงาน บทที่ 4 : ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (flow chart) เทคนิคในปฏิบัติงาน เทคนิควิธีการให้ผู้รับบริการพึงพอใจ การติดตาม ประเมินผล   บทที่ 5 : ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข ในการปฏิบัติงาน ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก (ถ้ามี)

ตัวอย่าง (ร่าง) นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์  ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ อุปกรณ์ที่ใช้ ขั้นตอนการดำเนินการ วิธีการปฏิบัติการพยาบาลนั้น วิธีการใช้ สิ่งประดิษฐ์นั้น การประเมินผล บรรณานุกรม

ตัวอย่าง (ร่าง) งานวิเคราะห์/งานสังเคราะห์ ความสำคัญหรือความจำเป็น วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ความรู้ตามหลักวิชาการเกี่ยวกับเรื่องที่วิเคราะห์/สังเคราะห์ วิธีการดำเนินงาน การเก็บข้อมูลก่อนการแก้ไขปัญหา แนวทางการปฏิบัติงานเพื่อแก้ไขปัญหา การเก็บข้อมูลหลังการแก้ไขปัญหา วิจารณ์ ข้อเสนอแนะ แนวทางปฏิบัติเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาอีก ควรเขียนให้เป็นแนวคิดของตัวเอง และมีการอ้างอิงสนับสนุนแนวคิดนั้นๆ

ผลงาน ทั้งนี้ ผลงานที่นำเสนอเพื่อพิจารณา จะต้อง มิใช่ผลงานที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหรือการฝึกอบรม (๒) มิใช่ผลงานเดิมที่เคยใช้ในการประเมินแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้นมาแล้ว (๓) ระบุการมีส่วนร่วมและมีคำรับรองจาก ผู้มีส่วนร่วม กรณีที่เป็นผลงานร่วม

ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน “ชำนาญงาน” ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน “ชำนาญงาน” ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง จนท.บริหาร หัวหน้าฝ่ายฯ ผอ.รพ. คณบดี มหาวิทยาลัย เตรียม 1. พม.01,02,03, แผนภูมิ 2 ชุดพร้อมพม.06 และผลงาน 1ชุด ส่งมหาวิทยาลัย 2. พม.01,02,03, แผนภูมิ 1ชุดพร้อมพม.06 และผลงาน 1ชุด ส่งงานฯ ทรัพยากรบุคคล ตรวจสอบเอกสารเสนอหน.ฝ่ายฯ ทำบันทึกขอเสนอแต่งตั้งอนุกรรมการระดับส่วนงาน กบค. พิจารณา ถ้าอนุมัติเสนอขอแต่งตั้ง อธิการบดี ออกคำสั่งแต่งตั้ง แต่งตั้งอนุกรรม- การระดับส่วนงานเสนอผลการประเมินต่อ กบค. เสนอ ผอ.รพ. เสนอคณบดี ดำเนินการแจ้งผู้ขอกำหนดตำแหน่ง รับทราบ กรณีผ่านเซ็นรับคำสั่งทำบัตรประจำตัวใหม่ รับทราบ รับทราบ รับทราบ

ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน “ชำนาญการ” ขั้นตอนการส่งประวัติและผลงาน “ชำนาญการ” ผู้ขอกำหนดตำแหน่ง จนท.บริหาร หัวหน้าฝ่ายฯ ผอ.รพ. คณบดี มหาวิทยาลัย แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ เตรียม 1. พม.01,02,03, แผนภูมิ 2 ชุดพร้อมพม.06 และผลงาน 1ชุด ส่งมหาวิทยาลัย 2. พม.01,02,03, แผนภูมิ 1ชุดพร้อมพม.06 และผลงาน 1ชุด ส่งงานฯ ทรัพยากรบุคคล ตรวจสอบเอกสารเสนอหน.ฝ่ายฯ ทำบันทึกขอเสนอแต่งตั้งอนุกรรมการระดับส่วนงาน -แต่งตั้งอนุกรรม- การระดับส่วนงาน -เสนอผลการประเมินต่อ มหา วิทยาลัย. เสนอ ผอ.รพ. เสนอคณบดี อนุกรรมการมหาวิทยาลัยพิจารณาผลการประเมิน เสนอผลต่อ กบค.เพื่ออนุมัติ ดำเนินการแจ้งผู้ขอกำหนดตำแหน่ง รับทราบ กรณีผ่านเซ็นรับคำสั่งทำบัตรประจำตัวใหม่ อธิการบดี ออกคำสั่งแต่งตั้ง รับทราบ รับทราบ รับทราบ

การส่งเสริม สนับสนุน จัดประชุมชี้แจงหลักเกณฑ์การขอกำหนดตำแหน่ง จัดประชุมให้ความรู้ในการเขียนผลงานวิชาการประเภทต่างๆ ตลอดจน การเขียนแบบประวัติ สร้างทีมงานและพัฒนาศักยภาพของกรรมการ (กลุ่มย่อย) ในแต่ละงานการพยาบาลฯ เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ

การส่งเสริม สนับสนุน เปิดคลินิกชำนาญการ เพื่อให้คำปรึกษา : สถานที่ งานวิจัยและสารสนเทศการพยาบาล ตึก 84 ปี ชั้น 2 ฝ่ายการพยาบาล ฯ เวลาทำการ จันทร์ เวลา 13.00 – 16.30 น. กรุณาโทรนัดหมายล่วงหน้า 7811,9045 คณะกรรมการส่งเสริมการขอกำหนดตำแหน่งชำนาญการฯ ของแต่ละงาน

การส่งเสริม สนับสนุน กลุ่ม Buddy โดยให้ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งแล้ว มีประสบการณ์ในการขอกำหนดตำแหน่ง มีความยินดี เต็มใจ ให้ความช่วยเหลือผู้ที่กำลังจะขอกำหนดตำแหน่งทั้งด้านการเขียนผลงานวิชาการ แบบประวัติ และที่สำคัญคือการสร้างกำลังใจในลักษณะพี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน นัดทำผลงานด้วยกัน ทำให้มีเพื่อน มีแรงจูงใจในการทำผลงาน 1. สถานที่ งานวิจัยและสารสนเทศการพยาบาล ตึก 84 ปี ชั้น 2 ฝ่ายการพยาบาล ฯ เวลาทำการ จันทร์ เวลา 13.00 –17.00 น. โทรนัดหมายล่วงหน้า 7811,9045 2. หอผู้ป่วยที่สังกัดซึ่งมีผู้ที่ได้รับการกำหนดตำแหน่งปฏิบัติงานอยู่

(พระราชดำรัสของสมเด็จพระราชบิดา) ขอให้ถือผลประโยชน์ ส่วนตัวเป็นที่ 2 ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่ 1 ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศจะตกแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพไว้ให้บริสุทธิ์ (พระราชดำรัสของสมเด็จพระราชบิดา)

thank you and Good luck