การสอบเทียบเครื่องมือวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โครงการดูแลรักษาและซ่อมบำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (PC)
การลดปัจจัยเสี่ยงทางกายภาพและการยศาสตร์
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
หน่วยเซลล์วิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2552
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
ปรู๊ฟทันใจ โครงการ แผนกลูกค้าสัมพันธ์
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)
มาตรการการจัดเก็บกุญแจสำรอง
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
การตรวจสอบระบบบริหารคุณภาพภายใน
ช่างสถานีไฟฟ้าย่อย หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การพัฒนาระบบ การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การใช้คลิปวีดิทัศน์ในการจัดการความรู้ ในงานห้องสมุด : กรณีศึกษา มทรอ.
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
ลักษณะงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละฝ่าย ในหน่วยงาน ส่วนเครื่องจักรกล สชป.1 มีดังนี้
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
COP เรื่องต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของงานซักฟอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
รายงานสถานภาพงบประมาณ
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ขั้นตอนการจัดการสาธารณภัย
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
การประกันคุณภาพของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ. ศ P A C D.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
Point of care management Blood glucose meter
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การส่งต่อนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50)
งานวัดผลและเมินผล.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
มาตรการประหยัดพลังงาน
โครงการสีวลี รามคำแหง - วงแหวน TQM: การเดินงานระบบไฟฟ้า / ประปา อย่างเป็นรูปแบบ.
RMCDOTNET โปรแกรมบริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
นวัตกรรม การดูแลเครื่องมือ ที่เสี่ยงสูง .ในหอผู้ป่วย
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสอบเทียบเครื่องมือวัด หน่วยไฟฟ้า งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช

ทำไมจึงต้องมีการสอบเทียบ การสอบเทียบคืออะไร การสอบเทียบ คือ กระบวนการในการตรวจสอบความถูกต้องของเครื่องมือวัดด้วยการเปรียบเทียบกับค่าที่อ่านได้จากเครื่องมือวัดกับค่าจริงของสิ่งที่ถูกวัด สาเหตุที่ต้องทำการสอบเทียบ เหตุที่ต้องทำการสอบเทียบเครื่องมือเป็นระยะๆ เนื่องจากในระหว่างการใช้งานเครื่องมือนั้นอาจทำให้เครื่องมือเกิดการเสื่อมคุณภาพได้ ความเที่ยงตรงของเครื่องมือจะเสื่อมลงไปตามจำนวนครั้งและระยะเวลาที่ใช้งาน การเสื่อมอันเนื่องจากสภาพแวดล้อม

วิธีการสอบเทียบ หลังจากที่ได้พิจารณาเห็นถึงความสำคัญของการสอบเทียบแล้ว เราจะสามารถทำการสอบเทียบเครื่องมือวัดได้ 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 สอบเทียบเครื่องมือวัดภายใน คือการปฏิบัติการสอบเทียบ ปรับเทียบเครื่องมือเองโดยซื้อเครื่องมือมาตรฐานมาสอบเทียบ วิธีที่ 2 ส่งเครื่องมือวัดไปสอบเทียบที่ศูนย์สอบเทียบภายนอก วิธีนี้ไม่ต้องลงทุนซื้อเครื่องมือมาตรฐาน ไม่ต้องดูแลรักษา ไม่ต้องเตรียมห้องปฏิบัติการ และบุคลากร เพียงแต่ส่งเครื่องมือของตนออกไปสอบเทียบปรับเทียบ

ผู้รับผิดชอบการสอบเทียบเครื่องมือวัด หน่วยไฟฟ้า รับผิดชอบเครื่องมิเตอร์วัดไฟต่าง ๆ หน่วยเครื่องกล รับผิดชอบ Pressure Gauge หน่วยประปา รับผิดชอบ เครื่องตรวจคุณภาพน้ำ

เครื่องมือวัดของหน่วยไฟฟ้า เครื่องมือวัดทั้งหมด จำนวน 6 เครื่อง ส่งสอบเทียบภายนอก จำนวน 6 เครื่อง - ผ่านการสอบเทียบ จำนวน 6 เครื่อง - ไม่ผ่านการสอบเทียบ จำนวน - เครื่อง

เครื่องมือวัดของหน่วยเครื่องกล เครื่องมือวัดทั้งหมด จำนวน 31 เครื่อง ส่งสอบเทียบภายนอก จำนวน 2 เครื่อง - ผ่านการสอบเทียบ จำนวน 2 เครื่อง - ไม่ผ่านการสอบเทียบ จำนวน - เครื่อง สอบเทียบภายใน จำนวน 29 เครื่อง - ผ่านการสอบเทียบ จำนวน 28 เครื่อง

เครื่องมือวัดของหน่วยเครื่องประปา เครื่องมือวัดทั้งหมด จำนวน 3 เครื่อง ส่งสอบเทียบภายนอก จำนวน 2 เครื่อง - ผ่านการสอบเทียบ จำนวน 2 เครื่อง - ไม่ผ่านการสอบเทียบ จำนวน - เครื่อง - อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน - เครื่อง สอบเทียบภายใน จำนวน 1 เครื่อง - ผ่านการสอบเทียบ จำนวน 1 เครื่อง

ผลการดำเนินการสอบเทียบประจำปี 56 เครื่องมือวัดทั้งหมด จำนวน 40 เครื่อง ส่งสอบเทียบภายนอก จำนวน 10 เครื่อง - ผ่านการสอบเทียบ จำนวน 10 เครื่อง - ไม่ผ่านการสอบเทียบ จำนวน - เครื่อง ส่งสอบเทียบภายใน จำนวน 30 เครื่อง - ผ่านการสอบเทียบ จำนวน 29 เครื่อง - ไม่ผ่านการสอบเทียบ จำนวน 1 เครื่อง

สรุปปัญหาผลการดำเนินการสอบเทียบ หน่วยงานที่รับผิดชอบเครื่องมือยังไม่ปฏิบัติตามแผนครบถ้วน

คำถาม ???

สวัสดีครับ