บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ โครงการ ร้านชุมชน โดย เอกภาพ
Advertisements

ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
บทที่ 4 การจำลองแบบทางคณิตศาสตร์
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ที่มาของโครงการ เจ้าหนี้การค้าในประเทศมากกว่า 5 พันราย ซึ่งเดิมจ่ายชำระด้วย CHQ และเปลี่ยนเป็นการจ่ายชำระหนี้เงินโอน 1,970 ราย พบปัญหา เจ้าหนี้เงินโอนสอบถามรายการจ่ายชำระหนี้
บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 อัตราส่วน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
รายงานที่ให้ทำ (ทุกคน)
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
(Applications of Derivatives)
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แนวคิดการประเมินประสิทธิภาพ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
กำหนดการเชิงเส้น PLERN SAIPARA RMUTL.
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
บทที่ 3 การผลิตและการวางแผนฟาร์ม
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
แผนการตลาดใหม่ Happy2Pays
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ความหมายของการบริการ
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming ภาคการศึกษา 1/2552 อ.นัทธปราชญ์ นันทิวัฒน์กุล

ประเด็นบทที่ 6 ลักษณะของปัญหา ประโยชน์ของโปรแกรมเชิงเส้น ประเด็นบทที่ 6 ลักษณะของปัญหา ประโยชน์ของโปรแกรมเชิงเส้น การสร้างแบบจำลองโปรแกรมเชิงเส้น การแก้ปัญหาของโปรแกรมเชิงเส้น ปัญหาควบคูในโปรแกรมชิงเส้น

ลักษณะของปัญหา โปรแกรมเชิงเส้น(linear programming) เป็นเทคนิควิธีการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาการจัดสรรทรัพยากรการผลิตได้แก่ ที่ดิน เงินทุน แรงงาน และผู้ประกอบการ ในการผลิตสินค้าหรือบริการของหน่วยการผลิตภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด วิธีการนี้จึงถูกนำไปใช้ในภาคธุรกิจสำหรับการจัดการปัจจัยการผลิต ปัญหาของหน่วยผลิตที่ต้องใช้วิธีการโปรแกรมเชิงเส้นในการแก้ปัญหา ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรทรัพยากรการผลิตภายใต้กระบวนการผลิต ตามเป้าหมายของหน่วยผลิต

ประโยชน์ของโปรแกรมเชิงเส้น 1) ก่อให้เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ จากการใช้ปัจจัยการผลิตที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2) เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 3) เสริมศักยภาพในการแข่งขันของหน่วยผลิต จากการผลิตที่มีประสิทธิภาพ 4) ลดการสูญเสีย(ค่าเสียโอกาส)ในกระบวนการผลิต 5) เพิ่มรายได้ ลดค่าใช้จ่ายของหน่วยผลิต

การสร้างแบบจำลองโปรแกรมเชิงเส้น แบบจำลองโปรแกรมเชิงเส้นมีโครงสร้างที่สำคัญ 2 ส่วนคือ 1) เป้าหมายหลัก มีได้ 1 เป้าหมาย ได้แก่ ค่าสูงสุด(Maximinzed) หรือ ค่าต่ำสุด(Minimized) 2) เงื่อนไข มีได้หลายเงื่อนไข 3) ลักษณะของสมการเงื่อนไข เป็นอสมการ

การแก้ปัญหาของโปรแกรมเชิงเส้น วิธีกราฟ(Graphic Approach) และ วิธีการซิมเพลกซ์(Simplex Algorithm)

ตัวอย่าง สุธิดาเปิดร้านขายเบเกอรี่ A และคิดจะเพิ่มรายการอาหารให้มากขึ้น โดยเห็นว่าจะเพิ่มเค้กเป็น 4 ชนิดจากเดิมที่มีเพียง 1 ชนิด และเพิ่มคุกกี้เป็น 8 ชนิดจากเดิม 4 ชนิด ทั้งนี้ร้านขายเบเกอรี A ต้องใช้แป้งในการทำเค้ก 30 % และ 40% ในการทำคุกกี้ ส่วนที่เหลือใช้ในการทำเบเกอรี่ประเภทอื่นๆ ร้านขายเบเกอรี A ต้องใช้น้ำตาลในการทำเค้ก 45 % และ 30% ในการทำคุกกี้ ส่วนที่เหลือใช้ในการทำเบเกอรี่ประเภทอื่นๆ ร้านขายเบเกอรี A ต้องใช้เวลาในการทำเค้ก 0.5 เท่าของเวลาในการทำคุกกี้และคุกกี้จะใช้เวลาเป็น 2.5 เท่าของเบเกอรี่ประเภทอื่น คุกกี่อื่นๆจะใช้เวลา 1 ชั่วโมง ทั้งนี้เวลาทั้งหมด 500 ชม. ผู้ประกอบการประมาณการว่าจะมีรายได้เค้กเฉลี่ยชิ้นละ 50 บาท และคุกกี่จะมีรายได้เฉลี่ยชิ้นละเป็น 2/5 เท่าของเค้ก

K = ? C = ? Objective Max. TR = 50K + (2/5)x(50)xC สิ่งที่ผู้ประกอบการต้องการคือ จำนวนที่ควรผลิตแล้วทำให้ได้รายได้สูงที่สุด K = ? C = ?

แก้ไขสมการ Objective Max. TR - 50K - 20C = 0 TR = 0 + 50K + 20C

การหาผลเฉลยด้วยกราฟ K 3 1 A 300 2 B C C 300

Ans.

การหาผลเฉลยด้วยวิธีการ Simplex Method Objective Max. TR - 50K - 20C = 0 TR = 0 + 50K + 20C

ตาราง Simplex

สมาชิกหลัก แถวนอนหลัก แถวตั้งหลัก Min. and element Min. -333.33 = 100/-0.3 -333.33 = 100/-0.3 สมาชิกหลัก -400 = 500/-1.25 แถวนอนหลัก Min. and element Min.

สมาชิกหลักใหม่ = 1 / สมาชิกหลัก 4000 = 0 – (500 x 20)/-2.5 -8 = 20/(-2.5) 0.16=(-0.4)/(-2.5) 0.12=(-0.3)/(-2.5) Min. and element Min. 200 = 500 -0.5 = -1.25 -(-2.5) -(-2.5) -0.4 = 1/(-2.5) สมาชิกหลักใหม่ = 1 / สมาชิกหลัก สมาชิกใหม่แถวตั้งหลัก = สมาชิกเดิม / สมาชิกหลัก สมาชิกใหม่แถวนอนหลัก = สมาชิกเดิม / - (สมาชิกหลัก) สมาชิกใหม่ที่เหลือ = สมาชิกเดิม - (ผลคูณทแยงมุมตรงกันข้ามของ แถวตั้งหลักกับแถวนอนหลัก) / สมาชิกหลัก

ตาราง Simplex ขั้นที่ 2 ตาราง Simplex ขั้นที่ 3

ตอบ ร้านขายเบเกอรี่ A Surplus ควรผลิตเค้ก 200 ชิ้น คุกกี้ 100 ชิ้น ควรผลิตเค้ก 200 ชิ้น คุกกี้ 100 ชิ้น มีรายได้สูงสุด 12,000 บาท โดยจะใช้เวลา 500 ชม. ใช้แป้ง 100 กก. แต่จะใช้น้ำตาลเกิน 20 กก. Surplus

ปัญหาควบคูในโปรแกรมชิงเส้น 1) กำหนดปัญหาเบื้องต้นของโปรแกรมเชิงเส้น โดยให้พิจารณาตัวแปร ค่าคงที่ ค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป้าหมายและอสมการเงื่อนไข 2) กำหนดปัญหาควบคู่ในลักษณะที่ตรงข้าม กล่าวคือ

ปัญหาเบื้องต้น ปัญหาควบคู่ เป้าหมายหาค่าสูงสุด  เป้าหมายหาค่าต่ำสุด เป้าหมายหาค่าต่ำสุด  เป้าหมายหาค่าสูงสุด ค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป้าหมาย  ค่าคงที่ของอสมการเงื่อนไข ค่าคงที่ของอสมการเงื่อนไข  ค่าสัมประสิทธิ์ของสมการเป้าหมาย