Mass Spectrum of three isotopes of neon.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
แบบรูปและความสัมพันธ์
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ประมาณการภาพรวมพลังงานไทย ( )
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
บทที่17 พลังงานจากนิวเคลียส 1. อะตอมและนิวเคลียส 2. Nuclear Fission
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
กราฟเบื้องต้น.
บทที่ 0 เนื้อหา การตั้งชื่อธาตุ การกำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ
กราฟเบื้องต้น.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Mass Spectrum of three isotopes of neon. 27 Mass Spectrum of three isotopes of neon.

(Nuclear Transmutation) 28 Chadwick (1932) ค้นพบนิวตรอนโดยการระดมยิง (bombardment) 11B ด้วยอนุภาค a 11 B + 4 He 2 5 14 N + 1n 7 การแปรธาตุ (Nuclear Transmutation)

11B (a, n) 14N Nuclear Transmutation คือ ปฏิกิริยาที่อนุภาคชน 29 Nuclear Transmutation คือ ปฏิกิริยาที่อนุภาคชน กับนิวเคลียสชนิดหนึ่ง เกิดเป็นนิวเคลียสชนิดอื่น target nucleus product nucleus 11B (a, n) 14N 7 5 ejected particle bombarding particle

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ p = 92 mass number (p + n) atomic number (p) 30 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ mass number (p + n) X A Z atomic number (p) Uranium -235 p = 92 n = 235 - 92 = 143

ทฤษฎีนิวตรอน - โปรตอน (Neutron - Proton Theory) 31 ทฤษฎีนิวตรอน - โปรตอน (Neutron - Proton Theory) นิวเคลียสประกอบด้วย โปรตอน (ประจุ +1 มวล 1) จำนวนเท่ากับประจุบวกของนิวเคลียส และ นิวตรอน (ประจุ 0 และมวล 1) จำนวนที่ทำให้ มวลทั้งหมดเท่ากับมวลของนิวเคลียส

Particle Charge Mass(amu) Relative Mass 32 Particle Charge Mass(amu) Relative Mass Proton +1 1.0073 1836 Neutron 0 1.0087 1839 Electron -1 5.486 x 10-4 1 amu = atomic mass unit 1 amu = 1.66 x 10-24 g

ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (NUCLEAR REACTIONS) 33 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (NUCLEAR REACTIONS) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิกิริยาเคมี 1. เกิดธาตุใหม่ 1. ไม่เกิดธาตุใหม่ 2. เกี่ยวข้องกับอนุภาค ในนิวเคลียส (nucleon) 2. เกี่ยวข้องกับ e-วงนอกสุด (valence electron) 3. พลังงานของปฏิกิริยา 3. พลังงานของปฏิกิริยา สูง ต่ำ

ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (NUCLEAR REACTIONS) 34 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (NUCLEAR REACTIONS) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิกิริยาเคมี 4. อัตราเร็วไม่ขึ้นกับ ความเข้มข้น อุณหภูมิ ความดัน ตัวเร่งปฏิกิริยา 4. อัตราเร็วขึ้นกับ ความ เข้มข้น อุณหภูมิ ความ ดัน ตัวเร่งปฏิกิริยา

เสถียรภาพของนิวเคลียส 35 เสถียรภาพของนิวเคลียส (Nuclear Stability) 1. นิวเคลียสที่มีจำนวนโปรตอน, นิวตรอน หรือ โปรตอน + นิวตรอน เท่ากับ 2, 8, 20, 50, 82 และ 126 จะมีเสถียรภาพสูง p = 2 8 20 38 82 n = 2 8 22 50 126

2, 8, 22, 50, 82 และ 126 เรียกว่า magic numbers 36 2, 8, 22, 50, 82 และ 126 เรียกว่า magic numbers chemical stability เกี่ยวข้องกับการมี 2, 10, 18, 36, 54 และ 86 อิเล็กตรอน

2. นิวเคลียสที่มีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเป็น 37 2. นิวเคลียสที่มีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเป็น เลขคู่ เสถียรกว่า นิวเคลียสที่มีจำนวนโปรตอน และนิวตรอนเป็นเลขคี่ โปรตอน นิวตรอน จำนวนนิวเคลียสที่เสถียร คี่ คี่ 8 คี่ คู่ 50 คู่ คี่ 52 คู่ คู่ 157

3. นิวเคลียสที่มีโปรตอน ณ 84 ไม่เสถียร 38 3. นิวเคลียสที่มีโปรตอน ณ 84 ไม่เสถียร ไอโซโทปของธาตุทั้งหมดเริ่มจาก polonium (Po, Z = 84) เป็นสารกัมมันตรังสี (radioactive) รวมทั้ง technetium (Tc, Z = 43) และ promethium (Pm, Z = 61)

4. เสถียรภาพของนิวเคลียสสัมพันธ์กับ n : p 39 belt of stability

belt of stability บริเวณที่พบนิวเคลียสที่เสถียร เรียกว่า 40 บริเวณที่พบนิวเคลียสที่เสถียร เรียกว่า belt of stability Z ฃ 20 นิวเคลียสที่เสถียรมี n : p = 1 (n = p) Z > 20 นิวเคลียสที่เสถียรมี n : p > 1 (n > p) เมื่อ Z เพิ่มขึ้น n : p ของนิวเคลียสที่เสถียรจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากต้องใช้ n มากขึ้นในการต้านแรงผลักระหว่าง p

spontaneous radioactive decay โดยการ 41 นิวเคลียสที่อยู่นอก belt of stability จะเกิด spontaneous radioactive decay โดยการ ปลดปล่อยอนุภาค หรือ รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า Radiation

Particles and Radiation Emitted by Radionuclides 42 Particles and Radiation Emitted by Radionuclides Particles or Type Charge Symbol Radiation He 4 2 a , Alpha Particle, helium nucleus 2+ , e -1 - b Beta Particle, electron 1- g Gamma Electromagnetic radiation 0 n 1 Neutron Particle 0 p , H 1 Proton Particle 1+ , e +1 b Positron Particle 1+

การสลายตัวของนิวเคลียส เหนือ belt of stability 43 การสลายตัวของนิวเคลียส เหนือ belt of stability จำนวน n : p สูงเกินไป เกิดการสลายตัวเพื่อลด n : p 1. Beta Emission n 1 + b -1 1 p Ra 228 88 + b -1 228 89 Ac

สมการนิวเคลียร์ = = ผลรวมของเลขมวล ของสารตั้งต้น ของผลิตภัณฑ์ 44 สมการนิวเคลียร์ ผลรวมของเลขมวล ของสารตั้งต้น = ของผลิตภัณฑ์ ผลรวมของเลขมวล ผลรวมของเลขอะตอม ของสารตั้งต้น = ผลรวมของเลขอะตอม ของผลิตภัณฑ์ Pa 234 91 b + -1 Th 234 90 N 14 7 b + -1 C 14 6

การสลายตัวของนิวเคลียส เหนือ belt of stability 45 การสลายตัวของนิวเคลียส เหนือ belt of stability 2. Neutron Emission I 136 53 n 1 + I 137 53 Lighter isotope N 16 7 n 1 + N 17 7

การสลายตัวของนิวเคลียส 46 การสลายตัวของนิวเคลียส ใต้ belt of stability จำนวน n : p ต่ำเกินไป เกิดการสลายตัวเพื่อเพิ่ม n : p 1. Positron Emission p 1 b + + 1 1 n 38 18 Ar b + + 1 K 38 18 15 8 O + b + 1 15 7 N

การสลายตัวของนิวเคลียส 47 การสลายตัวของนิวเคลียส ใต้ belt of stability 2. Electron Capture (K Capture) e -1 + Ag 106 47 Pd 106 46 e -1 + Ar 37 18 Cl 37 17 e -1 + Na 22 11 Ne 22 10 (3%) Na 22 11 Ne 22 10 b -1 + (97%)

การสลายตัวของนิวเคลียส 48 การสลายตัวของนิวเคลียส ใต้ belt of stability 3. Alpha Emission Pb 204 82 200 80 Hg + a 4 2

การสลายตัวของนิวเคลียส ที่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 84 49 การสลายตัวของนิวเคลียส ที่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 84 นิวเคลียสที่ Z ณ 84 เป็นสารกัมมันตรังสี (radioactive) อยู่เหนือ belt of stability 1. Alpha Emission Ra 226 88 222 86 Rn a + 4 2 Po 210 84 206 82 Rn a + 4 2

2. Nuclear Fission การสลายตัวของนิวเคลียสที่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 84 50 การสลายตัวของนิวเคลียสที่มีเลขอะตอมตั้งแต่ 84 2. Nuclear Fission เป็นกระบวนการที่นิวเคลียสหนัก แตกออกเป็น นิวเคลียสที่เล็กลง 2 ชนิด และ นิวตรอน Nuclear chain reaction

Part of a chain reaction from the fission of U-235. 51 Part of a chain reaction from the fission of U-235.