บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ICT & LEARN.
Advertisements

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู Information Technology for Teacher
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
Physiology of Crop Production
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การพัฒนาองค์กรด้วยนวัตกรรม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
สื่อการเรียนการสอน.
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การนำเทคโนโลยีมาใช้ใน การจัดการศึกษา
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
ทฤษฎี และหลักการพัฒนาชุมชน
ADDIE Model.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
คิดค้นโดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้ตัวเครื่องมีขนาด ใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก.
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
การสร้างสื่อ e-Learning
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ความหมายของนวัตกรรม “ นวัตกรรม ” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มา ก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจาก ของเดิมที่มีอยู่แล้ว.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา  “เทคโนโลยี” หมายถึง การนำแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงาน นั้นๆ ให้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

นวัตกรรมทางการศึกษา   นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง การทำสิ่งใหม่ๆ หรือการทำสิ่งใหม่ขึ้นมา  มาจากคำภาษาอังกฤษว่า Innovate และมาจากคำว่า Innovare   ซึ่งหมายถึง to renew,  to modify อาจแปลความหมายได้ว่า ทำใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ๆ เข้ามา 

ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา&กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการพัฒนา  ปี 1920-1930 Franklin Bobbilt ได้นำแนวคิดของธอร์นไดท์ ไปประยุกต์ใช้กับปัญหาทางด้านการศึกษา   ปี 1930 Ralph W. Tyler แห่งมหาวิทยาลัย โอไฮโอ ได้เน้น ศึกษาการใช้วัตถุประสงค์ในการอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ผู้เรียนคาดหวัง เกี่ยวกับการเรียน  ปี 1956 เบนจามิน บลูม (Benjamin Bloom)  และเพื่อน ร่วมงานได้ตีพิมพ์ผลงานการจำแนกจุดประสงค์การศึกษา (Taxonomy of Educational Objectives ) เป็น ลำดับขั้นที่ชัดเจน และเริ่มใช้อย่างแพร่หลายโดยทั่วไปในกลุ่มสาขา ศึกษาศาสตร์มาจนถึงปัจจุบัน

สื่อการเรียนการสอน  สื่อการสอน (Instructional media) และการออกแบบ การสอน (Instructional design) ได้มีการพัฒนามา ด้วยกัน มีการแยกตัวเป็นอิสระแต่มีส่วนมาบรรจบกัน แม้ว่าการ ใช้ของจริง (Real object) ภาพวาด (Drawing) และสื่อ อื่นๆ นับเป็นส่วนหนึ่งของการสอน อย่างน้อยที่สุด เป็นการนำมา ซึ่งความเจริญก้าวหน้าทางด้านประวัติศาสตร์ของการใช้สื่อการ สอน เช่นเดียวกับการออกแบบการสอน เป็นสิ่งที่ปรากฏชัดเจน ในศตวรรษที่ 20

คอมพิวเตอร์เพื่อการสอน (Instructional Computer Roots)  คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับนวัตกรรมการศึกษา (Innovations) แบ่งเป็น 4 ช่วง คือ 1.ในยุคแรกของคอมพิวเตอร์จะใช้เทคโนโลยีหลอดสุญญากาศ 2.ในยุคต่อมาหลังจากทศวรรษ 1950 และในช่วงเริ่มต้นของ 1960 ในยุคนี้จะใช้ เทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ 3.ในยุคที่ 3 จะมีความเร็วเพิ่มขึ้นเพราะนำเทคโนโลยี Solid State มาบูรณาการกับ Circuit เรียกว่า Integrated - Circuit (ICs) และ Ics ซึ่งการบูรณาการเทคโนโลยี ดังกล่าวเข้าด้วยกัน เรียกว่า ชิฟ  (Chip)

4. ในยุคที่ 4 เริ่มเข้ามาในทศวรรษ 1970 และใช้ Very Large- scale integration (VLSI) สิ่งที่มีการพัฒนาที่สำคัญ ที่สุดในยุคนี้คือ ไมโครโปรเซสเตอร์ เป็นชิฟเดี่ยวที่ทำจากซิลิคอน ซึ่งพัฒนาโดยวิศวกรของบริษัท Intel Corporation ซึ่ง นำไปสู่ Personal Computerในปี 1977 ได้มีบริษัท คอมพิวเตอร์ต่างๆที่มีการผลิตได้แก่บริษัท Apple Commodore และ Tandy/ Radio Shack ก็เป็นสิ่ง ที่ทำให้เกิดการพัฒนาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์

ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอน  การออกแบบ การพัฒนา การใช้ การจัดการและการประเมิน ส่วนประกอบทั้ง 5 นี้ เป็น ขอบข่ายของพื้นฐานความรู้และองค์ประกอบที่สำคัญในสาขาวิชานี้ อาจเรียกได้ว่า 5 ขอบข่าย พื้นฐานของสาขาวิชาเทคโนโลยีการสอน ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีรายละเอียดคือ การออกแบบ (Design) แสดงให้เห็นถึงการสร้างหรือก่อให้เกิดทฤษฏีที่กว้างขวางที่สุดของ เทคโนโลยีการสอน ในศาสตร์ทางการศึกษา การพัฒนา (Development) ได้มีการเจริญก้าวหน้า และแสดงให้เห็นแนวทาง   ในการ ปฏิบัติ การใช้ (Utilization) ทางด้านนี้  ไม่ได้แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้า ดังเช่น   ด้านทฤษฎี และการปฏิบัติ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะได้มีการดำเนินการกันมากเกี่ยวกับการใช้สื่อการสอน กันมากมาย แต่ยังมีด้านอื่นๆ นอกเหนือจากการใช้สื่อการสอนที่มิได้รับการใส่ใจ การจัดการ (Management) เป็นด้านที่เป็นหลักสำคัญของสาขานี้ เพราะจะต้อง เกี่ยวข้องกับแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้องสนับสนุนในทุกๆองค์ประกอบ ซึ่งจะต้องมีการจัด ระเบียบและแนะนำ หรือการจัดการ การประเมิน (Evaluation) ด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative Evaluation)

การเรียนรู้ (Learning)  วัตถุประสงค์ของเทคโนโลยีการสอนเป็นสิ่งที่มีอิทธิพล และ ส่งผลต่อการเรียนรู้  โดยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ เรียนรู้ ทำให้เกิดความกระจ่างชัดในการเรียนรู้ เป็นวัตถุประสงค์ ของการสอน ซึ่งหมายถึงการเรียนรู้นั่นเอง การเรียนรู้เป็นสิ่งที่มี หลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความรู้ ทักษะ และเจตคติ ที่เป็นเกณฑ์ในการสอนหรือในนิยามที่ว่า “การ เรียนรู้” หมายถึงการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในด้านความรู้ของ บุคคลหรือพฤติกรรม รวมถึงประสบการณ์ต่างๆ