สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด 2.ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด 3. ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย 4. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด 5. งดบุหรี่ สุรา สารเสพติดการพนันและการสำส่อนทางเพศ 6. สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น 7. ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท 8. ออกกำลังกายสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปี 9. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ 10. มีสำนึกต่อส่วนรวมร่วมสร้างสรรค์สังคม
1.ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด - อาบน้ำให้สะอาดทุกวัน - สระผม เป็นประจำ - ตัดเล็บมือ เล็บเท้า ให้สั้นอยู่เสมอ - ถ่ายอุจจาระเป็นเวลาทุกวัน - ใส่เสื้อผ้าที่สะอาด เหมาะสมกับ สภาพอากาศ - ทำความสะอาดและจัดเก็บของใช้ ให้เป็นระเบียบ
2.ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด - แปรงฟัน วันละ ๒ ครั้ง ก่อนนอน,ตอนเช้า - เลือกใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ กินอาหารที่มีแร่ธาตุและวิตามิน หลีกเลี่ยงกินของหวานเหนียว ตรวจสุขภาพในช่องปากด้วยตนเอง พบทันตบุคลากรปีละ ๑ ครั้ง - ใช้ฟันให้ถูกหน้าที่
3.ล้างมือให้สะอาด ก่อนกินอาหาร และหลังการขับถ่าย - ล้างมือให้สะอาด ด้วยน้ำและสบู่ - ล้างมือบ่อยๆ จนเป็นนิสัย - ก่อนเตรียมและปรุงอาหาร - ก่อนกินอาหาร - หลังใช้ห้องน้ำ ห้องส้วม - หลังหยิบจับสิ่งสกปรก - ก่อนและหลังการสัมผัสผู้ป่วย
4. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและ หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด - กินอาหารสุก สะอาด - กินอาหารให้ครบ ๕ หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย ในสัดส่วนที่เหมาะสม - กินผักให้มาก และกินผลไม้เป็นประจำ - หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด อาหารใส่สี
5.งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนันและการสำส่อนทางเพศ - ลด ละ เลิก - ไม่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดทั้งการเสพและค้า ไม่เล่น ไม่สนับสนุนการพนัน ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และ สังคม
6.สร้างความสัมพันธ์ ในครอบครัวให้อบอุ่น 6.สร้างความสัมพันธ์ ในครอบครัวให้อบอุ่น ปลูกฝังให้สมาชิกในครอบครัวเห็นความสำคัญ ของแต่ละคน ให้ความรัก เอื้ออาทร ห่วงใยกันและกัน - สร้างบรรยากาศในการอยู่ร่วมกันให้มีความสุข หาโอกาสทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว มีปัญหาให้ปรึกษากัน
7.ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท ปฏิบัติตามกฎแห่งความปลอดภัย - ภายในบ้าน - ที่โรงเรียน,ที่ทำงาน - ในการเดินทาง
8.ออกกำลังกายสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปี - เคลื่อนไหวออกแรงในชีวิตประจำวันสะสม อย่างน้อย ๓๐ นาที ต่อวัน ออกกำลังกายที่เป็นแบบแผน ๓ - ๕ วัน ต่อสัปดาห์ ตรวจสุขภาพประจำปีตามความเหมาะสม อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง
9.ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ หมั่นหากิจกรรม เพื่อเสริมสร้างความกระตือรือร้น ความร่าเริงแจ่มใสให้ชีวิต และคลายเครียด มองโลกในแง่ดี มองบางเรื่องที่น่ารำคาญ เป็นเรื่องตลกขบขัน - เมื่อมีปัญหาที่ไม่สบายใจควรหาทางผ่อนคลาย พัฒนาอารมณ์ให้มั่นคง ด้วยการฝึกความมีสติ - จัดสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่
10.มีสำนึกต่อส่วนรวมร่วมสร้างสรรค์สังคม ช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ลด / หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่ก่อให้เกิดมลภาวะ - มีสำนึกในการป้องกันการแพร่เชื้อโรค เช่น ใส่หน้ากากอนามัย ใช้ส้วมถูกสุขลักษณะ ทิ้งขยะในที่รองรับ กำจัดขยะ กำจัดน้ำทิ้งอย่างถูกต้อง ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด - ยินดี ร่วมมือทำกิจกรรมของชุมชน
ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด 2. 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด 2. รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง ตนเอง ตนเอง 3. ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย 4. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด 8. ออกกำลังกายสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปี 9. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ ครอบครัว ครอบครัว 6. สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น 5. งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนัน และการสำส่อนทางเพศ 7. ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท สังคม สังคม 10. มีสำนึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม