โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
บริการผลการศึกษาทันใจกับ สทป.
รายละเอียดของการทำ Logbook
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ป.6 บทที่ 1 “จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร”
โครงการ Charming Toilet
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงการการปรับขั้นตอนการรับสมัคร เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสัมมนา
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
หอพักนิสิต สำนักบริหารงานกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาลสำหรับนิสิตที่ทำกิจกรรมนอกสถานที่ กลุ่ม Firstaid.
การวัดความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
นวัตกรรม Joint feeding.
หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบราชการ ของ สปท. ครั้งที่ 2/55
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ทุกอย่างย่อมมีสิ่งที่ดีกว่าเสมอ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
“ ถุงมือ สะดวกใช้ – สบายใจ ผู้ตรวจ เพื่อลดการปนเปื้อน ”
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในงานศูนย์สนเทศภาคเหนือ
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
การพัฒนาความสามารถในการจำศัพท์คำกริยาภาษาญี่ปุ่น โดยกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดจากท่าทาง ของนักเรียนระดับชั้น ปวช. 1 กัลยา ออมสิน.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศุภวัฒน์ อิ่มเจริญ ภม.(การจัดการเภสัชกรรม) 15 กุมภาพันธ์ 2555
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การปรับปรุงกระบวนการ จัดเตรียมตัวอย่างตรวจทาง serology ปี 2 หน่วยภูมิคุ้มกันวิทยา.
ผลงาน CQI งานกายภาพบำบัด
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
โดย นางสกุลยา กุลธนบูรณกิจ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU การใช้ Visual control ในการจัด stock สารละลาย โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU

ความเป็นมา หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU มีการใช้สารละลาย ชนิดต่าง ๆ 22 ชนิด เป้าประสงค์การ STOCK เพื่อให้มีสารละลายเพียงพอต่อการใช้ ในวันธรรมดาและวันหยุดราชการ

ขั้นตอนเดิม วิธีการเบิก: ใช้การตรวจนับจำนวนสารละลายที่เหลือบนชั้นวาง แล้วเบิกเพิ่มให้เต็มชั้นวาง

ขั้นตอนเดิม วิธีจัดเก็บ: 1. เลื่อนสารละลายที่เหลือมาด้านหน้า วิธีจัดเก็บ: 1. เลื่อนสารละลายที่เหลือมาด้านหน้า 2. นำสารละลายที่เบิกใหม่เก็บเข้าด้านหลังสุด

ปัญหาที่พบ เบิกน้อยเกินไป มากเกินความจำเป็น ไม่จัดเก็บตามหลัก first in first out มีการ Expire

ความเป็นมา การตรวจประเมินกิจกรรม 5ส ณ สถานที่ปฏิบัติงานจริง โดยผู้เชี่ยวชาญจากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) วันที่ 3 กรกฎาคม 2550 คำถาม : stock สารละลายเท่าไร เหลือเท่าไร เมื่อไรที่ต้องเบิกเพิ่ม เสนอแนะ : ให้มี Visual control ในการจัดเบิกและจัดเก็บสารละลาย

ความเป็นมา พัฒนาระบบ stock สารละลายขึ้นโดยมีแนวคิดหลัก ผู้ใช้สามารถหยิบตามระบบ First in -First out ได้สะดวก ผู้เบิกต้องเก็บสารละลายระบบ First in -First out ได้สะดวก ไม่มีสารละลายหมดอายุ

วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีสารละลายเพียงพอต่อการใช้ ลดเวลาการตรวจนับในการเบิก และจัดเก็บ เพื่อลดจำนวนสารละลายที่หมดอายุ (Expire)

ตัวชี้วัด เวลาในการตรวจนับก่อนเบิกไม่เกิน 5 นาที จำนวนสารละลายที่ไม่พอใช้ = 0 สารละลายเกิน Stock = 0

วิธีการดำเนินการ สำรวจปริมาณการใช้ จากข้อมูลการเบิกใช้สารละลายที่ผ่านมา จัดทำจำนวน Stock

ตัวอย่างการเก็บข้อมูลการเบิกใช้สารละลายแต่ละชนิด วิธีการดำเนินการ จัดทำแผ่นตรวจสอบการใช้ ชนิดน้ำเกลือ ปริมาณ ml จำนวนที่ Stock ใช้ไป จำนวน คงเหลือ เบิกเพิ่ม จำนวน ที่ใช้ไปก่อนเติม หมายเหตุ 1. 5% D/N/2 1000 15 2. 10%D/NSS 10 3. 10%D/N/2 4. 5%D/N/2 5 5. 5%D/NSS 6. 5%D/NSS 20 ตัวอย่างการเก็บข้อมูลการเบิกใช้สารละลายแต่ละชนิด

วิธีการดำเนินการ จัดทำตัวเลขลำดับตามขนาดและจำนวนขวดสารละลาย

วิธีการดำเนินการ(ต่อ) แจ้งการดำเนินงานในที่ประชุม เรื่องการปรับระบบ ผู้ใช้: ให้หยิบจากเลข น้อยไปมาก

วิธีการดำเนินการ(ต่อ) ผู้เบิก: ดูจากตัวเลขที่ถูกใช้ไป

วิธีการดำเนินการ(ต่อ) การจัดเก็บ: เลื่อนสารละลายที่เหลือไปด้านซ้าย แล้วเติมสารละลายที่เบิก ใหม่เข้าทางด้านขวา

ผลการดำเนินการครั้งที่ 1 ลดเวลาในการเขียนใบเบิกจาก 15 นาทีเหลือ 5 นาที เก่า : นับจำนวนที่เหลือก่อนเบิก ใหม่ : ดูตัวเลขตามจำนวนใช้

ผลการดำเนินการครั้งที่ 1 ผู้ใช้: ไม่หยิบตามลำดับของตัวเลข ผู้เบิก: ไม่ทราบว่าจะเบิกเพิ่มเมื่อเหลือเท่าไร ปัญหา

วิธีการดำเนินการครั้งที่ 2 ทำเครื่องหมายบอกจุดเริ่มใช้ และจุดเบิกเพิ่มของ สารละลายแต่ละชนิดตามปริมาณการใช้งานที่ผ่านมา จุดเบิกเพิ่ม จุดเริ่มใช้

วิธีการดำเนินการ บันทึกปริมาณการเบิกและปัญหาที่พบ จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้ สารละลาย

สรุปผลการดำเนินงาน ลดจำนวน Stock สารละลาย 790 445 435 355 รวม 20 15 64 ชนิดสารละลาย Stock เดิม ปรับปรุง 1 ปรับปรุง 2 ลด stock 1. 5%D/N/2 30 20 15 2. 0.9 NSS 100 ml 110 64 56 54 ……… ………. …….. 22. 5%D/W 100 ml. 46 รวม 790 445 435 355

ผลการดำเนินงาน

สรุปผลการดำเนินงาน เป็นระเบียบสวยงาม สะดวก ตรวจสอบได้

ผลการดำเนินงาน ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้สารละลาย 2.84 4.27 รวม 2.3 หัวข้อประเมิน ระดับความพึงพอใจ แบบไม่มีตัวเลข แบบเรียงตัวเลข 1. ความเป็นระเบียบสวยงาม 2.3 4.77 2. ความสะดวกในการหยิบใช้ 3.44 3.90 3. สารละลายมีพอใช้ 2.78 4.20 รวม 2.84 4.27

ประโยชน์ที่ได้รับ ลดเวลาในการจัดเบิก-จัดเก็บสารละลาย มีสารละลายเพียงพอต่อปริมาณความต้องการในการใช้งาน ไม่มีสารละลายที่หมดอายุ ลดต้นทุนในการ stock สารละลาย

ชื่อผู้สร้างสรรค์ 1. คุณรัชนก พรหมจันทร์ หัวหน้าโครงการ 2. คุณอุไรวรรณ พลจร สมาชิก และที่ปรึกษา 3. คุณสุคนธ์ สุขเกษม สมาชิก 4. คุณพรทิพย์ ณ สุวรรณ สมาชิก 5. คุณชฏาพร บุญกาญจน์ สมาชิก 6. คุณนิภาพร เทิมแพงพันธ์ สมาชิก 7. คุณจำเนียร ยาสุภาพ สมาชิก ที่ปรึกษาโครงการ....คุณฉมาภรณ์ วรกุลและ คุณยุพิณ วัฒนสิทธิ์