Digital Engineering for Product Design, Development & Manufacturing รศ
Single market & production base ที่มา ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asian Economic Community) ปีพ.ศ.2558 ตามแผนงาน การเปิดเสรีทางภาษี การเปิดเสรีทางการค้าบริการ การเปิดเสรีการลงทุน การเปิดให้มีการเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น Single market & production base
ที่มา
“เลือกแข่งขันที่แรงงานราคาถูก”หรือ “เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม”เพื่อ ที่มา ภาคอุตสาหกรรมผู้ผลิตจะปรับตัวอย่างไร? “เลือกแข่งขันที่แรงงานราคาถูก”หรือ “เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม”เพื่อ ลดต้นทุนการผลิต ลดเวลาในการผลิตและทดสอบ เพิ่มคุณภาพสินค้า ทำให้ราคาถูกลง
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของโปรแกรมวิศวกรรมดิจิทัล (Digital Engineering) เพื่อช่วยพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีการผลิต โดยกระบวนการทางซอฟต์แวร์ CAD/CAE/CAM/Automation จากภาครัฐ สถาบันการศึกษา สู่ภาคเอกชน โดยมุ่งหวังให้ภาคเอกชนมีความพร้อมที่จะรับมือการเปิดเสรีของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asian Economic Community) ในปีพ.ศ.2558
Digital Engineering คืออะไร Digital engineering is a process to realize highly complex product design and production process in shortest time during the pre-production or development stages using results of quantitative estimation of the product and production function, performance and reliability through computer, information, and modeling technology application. [NADEC 2009, Malaysia]
Digital Engineering
Product Life Cycle Management Research Design (CAD) Analysis (CAE) Prototyping (RP) Process Design (VR) Production (CAM) Documentation (KM)
Digital Engineering for Enterprise Product Design & Development Procurement & Logistic Manufacturing Sale & Distribution Customer Service & Relation Management
Digital Engineering for Enterprise CAD CAE Virtual SIMULATION & VISUALISATION CAM High-Speed Digital Network System REAL-TIME COMMUN-ICATION SYSTEM ERP II (MATERIAL, INVENTORY CONTROL, SUPPLY CHAIN MANAGEMENT, FINANCIAL, PROJECT MANAGEMENT, CUSTOMER RELATIONSHIP MANAGEMENT, REAL-TIME ACCESS CONTROL, ASSET, HUMAN RESOURCES)
ตัวอย่างการใช้ Digital Engineering CAD CAE Virtual SIMULATION & VISUALISATION CAM High-Speed Digital Network System
รูปแบบของทุนวิจัย วิจัยร่วมกับภาคเอกชน โจทย์ต้องมีความชัดเจน และเป็นความต้องการที่แท้จริงของภาคเอกชน ประยุกต์ใช้วิศวกรรมดิจิทัลในการแก้ปัญหา กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย กลุ่มชิ้นส่วนยานยนต์ เครื่องปรับอากาศ เครื่องจักรกลและโลหะการ แม่พิมพ์ และฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
เขียน/ยื่นข้อเสนอโครงการ รูปแบบของทุนวิจัย นักวิจัย เอกชน สวทช เขียน/ยื่นข้อเสนอโครงการ ยุติ อนุมัติ ความร่วมมือ โจทย์
ผลลัพธ์ที่ต้องการ สามารถแก้ปัญหาให้กับภาคเอกชนด้วยการประยุกต์ใช้วิศวกรรมดิจิทัล สามารถลดต้นทุนหรือเวลาในการผลิต และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับภาคเอกชน ภาคเอกชนสามารถนำไปขยายผลในอนาคต เกิดเครือข่ายวิจัยเข็มแข็ง
เอกชนลงทุนอะไรบ้าง ต้องมีวิศวกรรับผิดชอบประสานความร่วมมือ/ร่วมวิจัยกับโครงการ ลงวัสดุ/เครื่องจักร/สถานที่/สาธารณูปโภคและอำนวยความสะดวกในการวิจัยที่โรงงาน ลงเงินไม่เกินร้อยละ 20 ของมูลค่าโครงการ ยอมรับเงื่อนไขการรับผลประโยชน์จากการเกิดทรัพย์สินทางปัญญาร่วมกับ สวทช. (เจรจาแบบมิตร)
ขอบคุณครับ Q&A