ข้อพึงตระหนักและควรระวังเกี่ยวกับ ความเป็นส่วนตัวในยุคไซเบอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่องพระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชา คอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
Advertisements

ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
ใช้อินเทอร์เน็ตอย่างไร ให้พ้นภัย และไม่ผิด พรบ.
บุคลากร วิศวกรรมเครือข่าย บริการและฝึกอบรม ซ่อมบำรุง พัฒนาซอฟต์แวร์
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ไปรษณีย์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
แนวทางปฎิบัติตามกฏหมายการเก็บข้อมูล ฯ (Log file)
E-Service รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก.
รายงาน เรื่อง พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เสนอ เรื่อง รายงาน อ. ชมัยพร โคตรโยธา จัดทำโดย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1
การกระทำความผิดเกี่ยวกับพรบ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
บทที่ 9 นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
ซอฟต์แวร์.
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
ระบบอินเทอร์เนตในโรงเรียนที่ผู้ใช้ไม่เกิน 1000 คน
การจัดการเอกสารด้วยไลบรารี 1. โครงสร้างของ Live.citcoms.nu.ac.th.
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางภาครัฐ
SCC : Suthida Chaichomchuen
คอมพิวเตอร์ กับ ไวรัส โปรแกรมไวรัส ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อก่อกวน และทำลาย
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
การประยุกต์ใช้งานระบบการจัดการเนื้อหาเว็บและแนวโน้มในอนาคต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
ทบทวนความเข้าใจ.
What’s P2P.
Computer mediated communication
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ยอดเงินงบประมาณที่สามารถโอน จำนวน 6,118,000 บาท ลำ ดับ ประเภท - รายการ จำน วน ราคาต่อหน่วย ( บาท ) ราคารวม ( บาท ) 1Log Management11,300,000 2 อุปกรณ์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
การใช้งานไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
เว็บเพจและเว็บไซต์ webpage website
Internet.
กฎหมาย คอมพิวเตอร์ สำหรับ ผู้บริหาร พ.ต.อ.ญาณพล ยั่งยืน.
13 October 2007
13 October 2007
13 October 2007
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เรื่อง การใช้งานบน Internet.
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ. ๒๕๕๐.
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต.
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ
ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software )
Internet Service Privider
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
ธีรพล สยามพันธ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.พัทลุง เขต 1
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
E-Portfolio.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การติดต่อด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
ชื่อ นางสาวชื่นฤดี ไชยวงค์ โปรแกรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3 รหัส
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อพึงตระหนักและควรระวังเกี่ยวกับ ความเป็นส่วนตัวในยุคไซเบอร์ สุรศักดิ์ สงวนพงษ์ ผู้อำนวยการสำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Surasak.S@ku.ac.th งานสัมมนากฏหมายคอมกับชีวิตประจำวัน AIT Conference Center 16 ตุลาคม 2550

หัวข้อบรรยาย ความเป็นส่วนตัว พรบ. ฉบับใหม่กับความเป็นส่วนตัว ข้อพึงตระหนักและระวังเรื่องความเป็นส่วนตัว

อะไรคือความเป็นส่วนตัว? ความหมายโดยทั่วไป : เรื่องเฉพาะตัวที่ไม่ต้องการเปิดเผยให้บุคคลอื่นล่วงรู้ ความเป็นส่วนตัวมักเกี่ยวโยงกับการไม่เปิดเผยตัวตน (anonymity) ประเด็น : ความเป็นส่วนตัวมักไม่มีขอบเขตที่ชัดเจน และยังแตกต่างไปตามบุคคล

ความมั่นคงปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว ความมั่นคงปลอดภัยมักมีประเด็นสวนทางกับความเป็นส่วนตัว กฏหมายความมั่นคงปลอดภัยในบางประเทศอาจขัดแย้งกับความเป็นส่วนตัวและเสรีภาพในการแสดงออก พรบ. ว่าด้วยการะทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2550 มีผลกระทบใดต่อความเป็นส่วนตัวหรือไม่ อย่างไร?

หัวข้อบรรยาย ความเป็นส่วนตัว พรบ. ฉบับใหม่กับความเป็นส่วนตัว ข้อพึงตระหนักและระวังเรื่องความเป็นส่วนตัว

การให้อำนาจเจ้าหน้าที่ มาตรา 16 : พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ (ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัย) สั่งให้ส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ ทำสำเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบ/ข้อมูล/ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ถอดรหัสลับของข้อมูล เรียกดูข้อมูลจราจร (ไม่รวมถึงเนื้อหาของข้อมูลที่บุคคลมีติดต่อถึงกัน)

การบังคับให้เก็บข้อมูลจราจร มาตรา 24 ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่าสามสิบวันนับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจำเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผู้ให้บริการผู้ใดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้เกินสามสิบวันแต่ไม่เกินเก้าสิบวัน เป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้

ข้อมูลที่ต้องเก็บ (กลุ่ม Carrier) ข้อมูลที่สามารถระบุและติดตามถึง แหล่งกำเนิด ต้นทาง ปลายทาง และทางสายที่ผ่าน ข้อมูลชุมสาย หมายเลขโทรศัพท์/วงจร ชื่อ/ที่อยู่ ผู้ใช้บริการ วัน เวลา ที่ตั้งของ Cell ID ผู้ประกอบ กิจการโทรคมนาคมและ กิจการกระจายภาพและเสียง วัน เวลาเริ่มและสิ้นสุดการใช้ Cell ID ที่เริ่มติดต่อ

ข้อมูลที่ต้องเก็บ (กลุ่ม provider) (I) ข้อมูลอินเทอร์เน็ตที่เกิดจาก การเข้าถึงระบบเครือข่าย (Access log) การเข้าถึง วัน เวลา การติดต่อของไคลเอ็นต์ User ID ผู้ให้บริการเข้าถึงระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการเช่าระบบ ผู้ให้บริการร้านอินเทอร์เน็ต IP Address Calling Line ID

ข้อมูลที่ต้องเก็บ (กลุ่ม provider) (II) ข้อมูลอินเทอร์เน็ตบนเครื่องที่ให้บริการ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Mail log) Messsage ID Sender/Receiver Address Status Indicator Client IP Address POP/IMAP log Mail Server IP Address User ID (if exists) วัน เวลา การติดต่อเข้าไคลเอ็นต์

ข้อมูลที่ต้องเก็บ (กลุ่ม provider) (III) ข้อมูลอินเทอร์เน็ตจากการโอนแฟ้ม ข้อมูลบนเครื่องให้บริการโอนแฟ้มข้อมูล (FTP log) บันทึกการเข้าถึง วัน เวลา การติดต่อของไคลเอ็นต์ Client IP Address User ID (if exists) โฟลเดอร์หรือชื่อไฟล์ที่ถ่ายโอน

ข้อมูลที่ต้องเก็บ (กลุ่ม provider) (IV) ข้อมูลอินเทอร์เน็ต บนเครื่องผู้ให้บริการเว็บ (Web log) บันทึกการเข้าถึง วัน เวลา การติดต่อของไคลเอ็นต์ Client IP Address ข้อมูลคำสั่งการใช้งานระบบ URI

ข้อมูลที่ต้องเก็บ (กลุ่ม provider) (V) Usenet บันทึกการเข้าถึง วัน เวลา การติดต่อของไคลเอ็นต์ หมายเลขพอร์ต ชื่อเครื่อง Message ID

ข้อมูลที่ต้องเก็บ (กลุ่ม provider) (VI) ข้อมูลที่เกิดจากการตอบโต้กัน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Chat log) วัน เวลา การติดต่อของไคลเอ็นต์ ชื่อเครื่อง Client IP Address

หัวข้อบรรยาย ความเป็นส่วนตัว พรบ. ฉบับใหม่กับความเป็นส่วนตัว ข้อพึงตระหนักและระวังเรื่องความเป็นส่วนตัว

ความเป็นส่วนตัวที่เรามักให้โดยไม่ระวัง ข้อมูลบริการเว็บ ข้อมูลบริการฟรีอีเมล

Gmail Term of Use (I) 4. Content of the Service. Google takes … this Agreement. Google also reserves the right to access, read, preserve, and disclose any information as it reasonably believes is necessary to (a) satisfy any applicable law, regulation, legal process or governmental request, (b) enforce this Agreement, including investigation of potential violations hereof, (c) detect, prevent, or otherwise address fraud, security or technical issues (including, without limitation, the filtering of spam), (d) respond to user support requests, or (e) protect the rights, property or safety of Google, its users and the public. …

Gmail Term of Use (II) 7. Privacy. …… Google understands that privacy is important to you. You do, however, agree that Google may monitor, edit or disclose your personal information, including the content of your emails, if required to do so in order to comply with any valid legal process or governmental request (such as a search warrant, subpoena, statute, or court order), or as otherwise provided in these Terms of Use and the Gmail Privacy Policy. ……

Hotmail Service Agreement 7. Materials You Post or Provide; Communications Monitoring. ... However, by posting or otherwise providing your submission, you are granting to the public permission to use, copy, distribute, display, and modify your submission, each in connection with the Service, and to publish your name in connection with your submission. You also give the public permission to grant this permission to other persons. This section only applies for legal content, and to the extent that use and publishing of such legal content does not breach the law. ….

MSN Privacy Statement (I) การรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน …. ในบางเว็บไซท์ของ MSN นั้น Microsoft จะเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล เช่น อีเมล์แอดเดรส ชื่อ ที่อยู่ หรือหมายเลขโทรศัพท์ที่บ้านหรือที่ทำงานของท่าน อีกทั้งอาจมีการรวบรวมข้อมูลทางประชากรศาสตร์ เช่น รหัสไปรษณีย์ อายุ เพศ ความสนใจ และสิ่งที่ท่านชื่นชอบเป็นพิเศษ ข้อมูลเหล่านี้อาจถูกนำไปรวมกับข้อมูลที่ได้จากบริการหรือจากบริษัทอื่นๆ ของ Microsoft

MSN Privacy Statement (II) การรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน …. เราอาจเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการเยี่ยมชมของท่าน เช่น เว็บไซท์ที่ท่านได้เข้าไปดู ลิงก์ที่ท่านคลิก หรือกิจกรรมที่เชื่อมต่อกับเว็บไซท์และบริการของ MSN และอาจรวมไปถึงข้อมูลที่เบราว์เซอร์ของท่านได้ส่งไปยังเว็บไซท์ที่ท่านได้เข้าไป เช่น ที่อยู่ IP ชนิดของเบราว์เซอร์และภาษา เวลาในการเข้าสู่และที่อยู่เว็บไซท์ที่ใช้อ้างอิงเป็นต้น

MSN Privacy Statement (III) การใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน Microsoft เก็บรวบรวมและใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านในการดำเนินงาน MSN และให้บริการตามความประสงค์ของท่าน บริการเหล่านี้อาจรวมถึงการแสดงเนื้อหาส่วนบุคคล ตลอดจนการโฆษณา ซึ่งอาศัยข้อมูลที่เราได้เก็บรวบรวมไว้ เพื่อการให้บริการที่สามารถเชื่อมกับผลิตภัณฑ์หรือบริการอื่นๆ ของ Microsoft ฉะนั้นบริการอื่นของ Microsoft อาจเข้าสู่หรือใช้ข้อมูลเหล่านี้ตามความจำเป็น…..

MSN Privacy Statement (IV) การใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน …. Microsoft จะไม่นำรายชื่อผู้ใช้บริการ MSN ไปขาย หรือให้บุคคลอื่นเช่า ซึ่งในบางครั้ง เราอาจติดต่อกับท่านในนามบุคคลที่สามซึ่งเป็นคู่ค้าทางธุรกิจ เพื่อนำเสนอบริการหรือข้อเสนอที่ท่านอาจสนใจ ในกรณีเช่นนี้ ข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน (อีเมล์ ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์) จะไม่ถูกถ่ายโอนไปยังบุคคลที่สาม และเราไม่ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลอื่นๆ เช่น เชื้อชาติ ศาสนา หรือการเป็นสมาชิกพรรคการเมือง โดยไม่ได้รับความยินยอมจากท่าน

MSN Privacy Statement (V) ในบางโอกาส เราอาจว่าจ้างบริษัทอื่นเสนอบริการบางอย่างในนามของเรา เช่น การจัดการและนำส่งจดหมาย การสนับสนุนลูกค้าดำเนินธุรกรรม หรือทำการวิเคราะห์เชิงสถิติเกี่ยวกับบริการต่างๆ ของเรา ซึ่งเราจะให้ข้อมูลส่วนบุคคลแก่บริษัทเหล่านั้นตามความจำเป็นเท่านั้น โดยมีข้อบังคับว่าบริษัทเหล่านั้นต้องรักษาความลับในข้อมูลของท่าน และห้ามนำข้อมูลไปใช้เพื่อการอื่นโดยเด็ดขาด

MSN Privacy Statement (VI) ข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวมในเว็บไซท์นี้อาจถูกจัดเก็บและดำเนินการในประเทศสหรัฐอเมริกาหรือประเทศอื่น ซึ่ง Microsoft หรือบริษัทในเครือ บริษัทสาขา หรือตัวแทนที่มีกิจการดำเนินอยู่ และโดยการใช้เว็บไซท์นี้ ถือว่าท่านยินยอมให้มีการถ่ายโอนข้อมูลในลักษณะนี้ออกนอกประเทศของท่านได้ Microsoft ใช้หลักปฏิบัติ safe harbor framework ของกระทรวงพาณิชย์สหรัฐฯว่าด้วยการเก็บรวบรวม การใช้ และรักษาข้อมูลจากสหภาพยุโรป

ข้อแนะนำ ใช้ฟรีอีเมลเฉพาะกรณีที่จำเป็น หลีกเลี่ยงการใช้ฟรีอีเมลเมื่อต้องส่งข้อมูลที่มีความสำคัญสูง หรือเป็นความลับ เข้ารหัสลับทุกครั้งหากจำเป็นต้องใช้สำหรับส่งข้อมูลสำคัญ ใช้ฟรีอีเมลเพื่อปกป้องความเป็นส่วนตัว ใช้อีเมลประจำองค์กรเมื่อปฏิบัติหน้าที่

Q&A Surasak.S@ku.ac.th