OUTCOME MAPPING วัดให้ง่าย วัดให้ชัด วัดที่พฤติกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
Process of transfromation from สอ. To รพสต. Sharing by W. Thanawat M.D.,M.P.A.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
หลักการเขียนโครงการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

OUTCOME MAPPING วัดให้ง่าย วัดให้ชัด วัดที่พฤติกรรม รศ.พญ.พันธุ์ทิพย์ สงวนเชื้อ รพ.มอ. นพ.ประวิตร วณิชชานนท์ ผอ.รพ.ละงู จ.สตูล นพ.สุวัฒน์ ธนกรนุวัฒน์ ผอ.รพ.เสาไห้ จ.สระบุรี นพ.สมยศ ศรีจารนัย ผอ.รพ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์ ผศ.นพ.สุธรรม ปิ่นเจริญ รพ.มอ.

ปัญหา - การพัฒนามักจะ face down หลังเสร็จโครงการ การพัฒนาที่ยั่งยืน หัวใจอยู่ที่ การเปลี่ยนแปลงความคิดหรือกระบวนทัศน์ของคน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคน มีองค์ประกอบที่ซับซ้อน “ผลลัพธ์” ที่แท้จริงต้องใช้เวลา เครื่องมือวางแผนงานใช้ติดตาม + ประเมินผล เน้นพฤติกรรมผู้มีส่วนร่วม OM เน้นเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนในองค์กร มีเป้าหมายให้สุขภาวะสิ่งแวดล้อมดีขึ้น

แนวคิดใหม่ของการพัฒนา แนวคิดในการพัฒนามีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง ใช้หลักความเป็นเหตุและผลต่อเนื่อง (cause and effect) แต่เมื่อการพัฒนาเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน จะไม่สามารถแยกออกได้ เช่น มีหน่วยงานอื่นๆเกี่ยวข้องมากมายทั้งระดับต้นน้ำและในพื้นที่ เช่น หน่วยงานราชการอื่น นอกจากนี้ หากแสดงให้เห็นว่าความสำเร็จของการพัฒนาเป็นผลงานของตนเอง (ผู้ให้ทุน ผู้ทำโครงการ) จะทำให้ผู้มีส่วนร่วมทำให้ผลงานสำเร็จหรือชุมชน ไม่เกิดความรู้สึกร่วมเป็นเจ้าของการพัฒนา ขาดความรัก ความผูกพัน ความภาคภูมิใจ

บทเรียนในอดีตทำให้เกิดแนวความคิดใหม่ของการพัฒนา มองเรื่องที่จะพัฒนาอยู่ในระบบเปิด มีความสัมพันธ์กับเรื่องอื่น และเกี่ยวข้องกับคนในชุมชนอย่างซับซ้อน ไม่เป็นความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงเพียงอย่างเดียว การเปลี่ยนแปลงจุดใดจุดหนึ่ง ย่อมกระทบต่อเรื่องอื่น หรือ หน่วยงานอื่นอีกหลายจุด ดังนั้นการพัฒนาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การกำหนดและชักนำเข้าเป็นภาคีหุ้นส่วน (boundary partners) เกิดข้อตกลงร่วมกันเป็นหุ้นส่วนกัน (agreements and partnerships)

แผนที่ผลลัพธ์ใช้ทำอะไรได้บ้าง แผนที่ผลลัพธ์ เป็นเครื่องมือพัฒนาโดยศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาระหว่างชาติแห่งคานาดา (IDRC) จัดพิมพ์เป็นภาษาไทยโดย สสส. เป็นเครื่องมือสำหรับวางแผนพัฒนา ติดตามการทำงาน และประเมินผล โดยเน้นการเตรียมการติดตามการทำงานและการประเมินผลตั้งแต่ขั้นตอนแรกของการวางแผนพัฒนา ในส่วนของการประเมินผลโครงการ สามารถทำโดยผู้ดำเนินโครงการหรือผู้ประเมินจากภายนอก เหมาะสำหรับการพัฒนาที่ต้องการความสำเร็จที่ยั่งยืน คำนึงความซับซ้อน (complexity) ในชุมชน ให้ความสำคัญกับบทบาทของภาคีหุ้นส่วน (boundary partners) ชักนำให้เห็นคุณค่าและเป้าหมายร่วมกัน

มีการกำหนดความคาดหวังและเกณฑ์ชี้ความก้าวหน้าของแต่ละภาคี มีการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์เพื่อที่จะสามารถใช้ติดตามงานและอุปสรรค การติดตามความก้าวหน้าของโครงการส่วนหนึ่งดูจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การจัดกิจกรรมและความสัมพันธ์ของภาคีหุ้นส่วน

หลักการ Attitude or Behavior change เปลี่ยนทัศนคติ Boundary partners ภาคีหุ้นส่วน Contribution มีส่วนร่วม

A เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สัมพันธภาพกิจกรรม โดยใช้ pattern behavior map - เจ้าหน้าที่รัฐ - เอกชน - สถาบันวิชาการ เช่น มหาวิทยาลัย C โรงพยาบาลและภาคีหุ้นส่วน มีส่วนร่วมตั้งแต่ต้นจนจบ

OM 3 ขั้นตอน กำหนดกรอบ ในการมีส่วนร่วม (Intentional design) ติดตาม (Outcome and performance monitoring) ประเมินผล ระบุประเด็นที่ต้องการประเมิน วางแผน (Evaluation plan) ติดตามที่พฤติกรรมของคนมาร่วมงาน

พรพ. ร่วมกับ รพ.ชั้นนำของประเทศอีก 14 แห่ง นำ “แผนที่ผลลัพธ์” มาวิจัยและพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์ โดยนำมาทดสอบใช้งานจริง กับโครงการส่งเสริมสุขภาพที่สำคัญของแต่ละรพ. เน้นโครงการที่มีภาคีหุ้นส่วน เช่น โรงเรียน วัด มัสยิด องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น