หัวข้อนำเสนอกลุ่ม 2 ดมยาด้วยหัวใจปลอดภัยไร้กังวล องค์กรไม่ใช่เครื่องจักรต้องการความรักและความเข้าใจ......นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ Disclose the blind spot…..นพ.ชาตรี ดวงเนตร Healing environment….นพ.เจษฎา นพ.พิษณุ Measurement & Analysis …..นพ. สิทธิศักดิ์ นพ. อภิชาติ จากฉือจี้สู่แผ่นดินสยาม....นพ.นิวัฒน์ชัย Patient care pitfall from surveyor viewpoint….เรวดี,พรประภาและนพ.สมจิตต์ การติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดและการป้องกัน Update best practice in prevention of CR-BSI….ศูนย์การแพทย์ รพ. กรุงเทพ
ดมยาด้วยหัวใจปลอดภัยไร้กังวล การประกันคุณภาพในการให้ยาระงับความรู้สึก Risk control : structure, work system ทั้งในและนอกเวลาราชการ, ระบบการตรวจสอบภายใน เช่นความเที่ยงตรงของ flow meter, conc. volatile anesthetic agents , monitors การตรวจสอบ stock ยา และ competency กระบวนการในการให้ยาระงับความรู้สึก preoperative evaluation, intraoperative care และ postoperative care การประเมินผลการให้บริการ Patient safety incidence Satisfaction, การฟ้องร้อง , closed-claims analysis ตรวจประเมินจากรายงานที่แสดงความไม่ปกติ เช่น unplanned readmit, unplanned admit ICU, mortality การเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ International benchmarking
Healing environment
Measurement & Analysis
Measurement & Analysis
Measurement & Analysis
Patient care pitfall from surveyor viewpoint ความสมบูรณ์ของเวชระเบียน ประเมินตนเองในกระบวนการดูแลรักษา การดูแลผู้ป่วยที่เฉพาะเจาะจงกับบริบทของรพ. พัฒนาคุณภาพทางคลินิกอย่างต่อเนื่อง มิได้ถูกเตรียมไว้เพื่อการเยี่ยมสำรวจ มิได้พิจารณาเกณฑ์ได้หรือตก สะท้อนคุณภาพการดูแลรักษาจริงๆ ประเด็นในเชิงระบบทีมีผลกระทบต่อความปลอดภัยของผู้ป่วย เช่น การดูแลผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉิน โดยแพทย์เพิ่มพูนทักษะ แพทย์สามารถใช้ CPG อย่างเหมาะสม ? หรือกาเครื่องหมาย อย่างเดียวแต่ไม่ได้ประเมินจริง
Patient care pitfall from surveyor viewpoint ( Aj Somjit)
Patient care pitfall from surveyor viewpoint Patient care & clinical quality Overview clinical quality Specific clinical quality Specific clinical risk Quality improvement process System integration
Patient care pitfall from surveyor viewpoint (Pornprapa’s view) ถามไม่ตรงกับคำตอบที่เตรียมไว้ ซึ่งได้ทำ KM ไว้ล่วงหน้าแล้ว Clinical tracer เขียนดีมาก แต่ไม่ตรงกับการปฏิบัติงานจริง ใช้เครื่องมือไม่เหมาะสมและเป็นภาระ เช่น C3-THER กลายเป็นภาระ paper work การทำให้เกิดภาระกับบุคลากรกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งมากเกินไป เช่น พยาบาล เก็บตัวชี้วัด ไม่ตรงกับประเด็นคุณภาพสำคัญของหน่วยงาน เช่น ไอซียู เก็บเรื่องตกเตียง แต่ไม่เก็บคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวิกฤต
Patient care pitfall from surveyor viewpoint (Pornprapa’s view)
การติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดและการป้องกัน
การติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดและการป้องกัน วิทยากรจากโรงพยาบาลศิริราช มาตรการป้องกันก่อนผ่าตัด การกำจัดขนบริเวณผ่าตัด การตัดหรือใช้ครีมกำจัดดีกว่าการโกน * การควบคุมระดับกลูโคสในเลือด ควบคุมระดับ HbA1C ให้ไม่เกิน 7% ** มาตรการป้องกันระหว่างผ่าตัด การให้ยาต้านจุลชีพป้องกันการติดเชื้อ ควรเริ่มภายใน 60 นาทีก่อนผ่าตัดและหยุดไม่เกิน 24 ชม.*** การให้ออกซิเจนปริมาณสูง การให้ 80% ออกซิเจนได้ผลดีกว่า 30% **** Keep normothermia มาตรการพื้นฐาน ได้แก่ การล้างมือ เครื่องมือปราศจากเชื้อ sterile technique surgical technique เวลาผ่าตัด *Tanner J. Cochrane Database Syst Rev 2006;3:CD 004122. **Dronge AS. Arch Surg .2006 ;141(4):375-80. *** Bratzler DW. Clin Infect Dis 2004;38:1706-15. **** Belda F. JAMA. 2005;294:2035-42.
Timing of antibiotic prophylaxis & SSI
การติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดและการป้องกัน
Update best practice in prevention of CR-BSI วิทยากรจากศูนย์การแพทย์ โรงพยาบาลกรุงเทพ การปรับเปลี่ยนแนวทางปฏิบัติตามงานวิจัย Central line set ( มีอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อส่วนบุคคล) การปรับเปลี่ยนน้ำยาที่ใช้ในการเตรียมผิวหนัง เป็น 2% chlorhexidine in 70% Alc.(ผสมเอง) ปรับขนาดผ้าเจาะกลางให้ใหญ่ขึ้น (36x60 นิ้ว) ลดการปนเปื้อน การใช้ sticker สีแสดงกำหนดการเปลี่ยน มีการระบุวันที่เริ่มให้สารละลายและวันที่ต้องเปลี่ยนสารละลาย หรือ dressing ใหม่ (ทุก 3 วัน) การ deploy ให้ความรู้แก่กลุ่มแพทย์และเจ้าหน้าที่ Key success factors: ความร่วมมือ การให้ข้อมูลย้อนกลับ การนำเสนอข้อมูลให้แผนกรับทราบ
ทำอะไรด้วยความสุข สนุกกับงาน ถึงแม้งานหนัก