A wonderful of Bioluminescence มหัศจรรย์แห่ง การเรืองแสงของสิ่งมีชีวิต
Light emission by living organisms.
กลไกการเรืองแสงของสิ่งมีชีวิต ATP+ Luciferase Luciferin Luciferyl Adenylate Luciferase + Pyrophosphate Luciferyl Adenylate Luciferase oxyluciferin + O2 + AMP Light
of used bioluminescence Result of used bioluminescence
Applications of bioluminescence 1. งานวิจัยทางด้านอวกาศ (Space research) 2. งานวิจัยทางด้านการแพทย์ (Medical research) 3. งานทางด้านการจัดการศัตรูพืช (Pest management) 4. ใช้เป็น marker gene (Fluorescent marker gene)
Effect of bioluminescence 1. ก่อให้เกิดโรคกับมนุษย์ 2. ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ ภาพที่ 2 : การสร้างปลาม้าลายเรืองแสงโดยใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม (genetic engineering) A. ปลาม้าลายปกติ B. การฉีด DNA เรืองแสงเข้าไปในเซลล์ไข่ของปลาม้าลาย C. ตัวอ่อนส่วนหนึ่งจะพัฒนาจนเป็นปลาม้าลายเรืองแสง D. ปลาม้าลายเรืองแสง ที่มา : นำชัย, (2546) ภาพที่ 1 : แผลติดเชื้อที่เกิดจากการได้รับเชื้อ Vibrio vulnificus A. ลักษณะของบาดแผลที่ขา ในผู้ป่วยอายุ 75 ปี มีอาการตับแข็งและติดเชื้อในกระแสเลือด B. การติดเชื้อในกระแสเลือดพัฒนาจากการได้รับแผลจาก กระดูกปลาที่นิ้วนางข้างซ้าย ในผู้ป่วยอายุ 45 ปี ที่เป็นโรค uremia C. Gram-negative isolated from a blood sample of the 45 – year - old patient ที่มา : Todar, (2005)
Conclusion การเรืองแสงของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ เกิดขึ้นเพื่อปรับตัวให้สามารถอยู่รอดได้ในสภาพที่เหมาะสมและสืบทอดกันมาทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเหล่านั้น แต่ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้มนุษย์สร้างสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตที่มีความสามารถเหมือนหรือใกล้เคียงกับธรรมชาติได้ การเรืองแสงก็เช่นเดียวกัน ซึ่งวัตถุประสงค์ในการสร้าง อาจเพื่อสังคมหรือเพื่อตนเอง ทั้งนี้ทั้งนั้น ควรมีการควบคุม เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเป็นผลกระทบมาจากสิ่งประดิษฐ์ของมนุษย์ ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตก็ตาม
จัดทำโดย... นางสาวกิติมา คำบำรุง ที่ปรึกษาสัมมนา รศ.ดร.สุรไกร เพิ่มคำ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทร. 074-286101-2