รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยนอกและผู้รับบริการอื่น ๆ เฉลี่ย / เดือน หน่วย : ครั้ง ( เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ )
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
Sulperazon.
การประเมินการใช้ยา Nimesulide (Nidol)
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
แผนภูมิที่ 1 จำนวนเหตุการณ์ที่ผู้ได้รับผลกระทบฯ ได้รับการเฝ้าระวังปัญหาการบาดเจ็บทางกาย
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
วิเคราะห์สถานการณ์อุบัติเหตุบนโครงข่ายถนน
แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
โครงการ Survival on the Road
แนวคิดใหม่ ๆ ในการทำให้ รถจักรยานยนต์ปลอดอุบัติเหตุ
วันหยุดนักขัตฤกษ์ที่สงขลา มีอุบัติเหตุขนส่ง สูงกว่า
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
ติดตามการพัฒนา รพ.สต. ด้านกำลังคน
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
ผู้สูงอายุไทยในทศวรรษหน้า
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมุกดาหาร จำกัด
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2556
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2549
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน มกราคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยราชสุดา ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน ธันวาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน พฤษภาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน เมษายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กุมภาพันธ์ 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่

วัตถุประสงค์ : เพื่อสะท้อนสถานการณ์บาดเจ็บ จากอุบัติเหตุการขนส่งที่รับการรักษา ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และโรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2552 ติดตามแนวโน้มจากข้อมูลผู้ป่วยระหว่างปี 2548-2552

ข้อมูล : แหล่งที่มาข้อมูล งานเวชระเบียน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ งานเวชระเบียน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ข้อมูลนำเสนอ ผู้ป่วยเสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน : จำนวนรายเดือน เพศ ผู้ป่วยนอก : จำนวนรายเดือน เพศ อายุ จยย. ผู้ป่วยใน : จำนวนรายเดือน เพศ อายุ จยย. หมายเหตุ : - การนำเสนอข้อมูล เน้นรถจักรยานยนต์ - ผู้ป่วยนอกคือ ผู้บาดเจ็บที่ได้รับการรักษาแล้วกลับบ้าน - ผู้ป่วยในคือ ผู้บาดเจ็บที่ต้องได้รับการรักษาต่อเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาล

จำนวน (ข้อมูลดิบ) สัดส่วน (%) วิธีเสนอ : หมายเหตุ : สัดส่วน(%) คือ ร้อยละของจำนวนอุบัติการณ์แต่ละเดือน/จำนวนอุบัติการณ์เฉลี่ยต่อเดือนของปีเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลของแต่ละเดือนระหว่างปี

เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 14 คน ชาย 9 อายุ 23-59 ปี อายุเฉลี่ย 37 ปี ค่ามัธยฐาน(median) = 39 หญิง 4 อายุ 22-52 ปี อายุเฉลี่ย 40 ปี ค่ามัธยฐาน(median) = 45

เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : ชาย 9 จากรถจยย. 4 หญิง 4 จากรถจยย. 3

ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 3,188 ราย เฉลี่ย = 266 ราย/เดือน ชาย = 55% (1,742/3,188) จยย. = 84% ของทั้งหมด (2,665/3,188) จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (1,434/2,665) อายุ <35 ปี = 74% (2,351/3,188)

ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น: ชาย = 55% (1,742/3,188) ความแตกต่างไม่เด่นชัดระหว่างชาย หญิง ข้อมูล : เดือนธันวาคม มีผู้ป่วยสูงสุด

ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 84% ของผู้ป่วยรวม (2,665/3,188) จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (1,434/2,665)

ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : 6 ใน 10 ราย เป็นผู้ป่วยเด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 25 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 751 ราย เฉลี่ย = 63 ราย/เดือน ชาย = 71% (535/751) จยย. = 73% ของทั้งหมด (546/751) จยย.ชาย = 74% ของจยย.ทั้งหมด (402/546) อายุ <35 ปี = 63% (472/751) อายุ >45 ปี = 25% (188/751)

ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : ชาย = 71% (537/751) สูงกว่าหญิง 2.5 เท่า

ผู้ป่วยใน : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ผู้ป่วยใน : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 73 % ของผู้ป่วยรวม (546/751) จยย.ชาย = 74% ของจยย.ทั้งหมด (402/546)

ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : 1 ใน 4 ของผู้ป่วย อายุ > 45 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

ผู้ป่วยทั้งหมด : เปรียบเทียบสัดส่วนเฉลี่ยรายเดือนของ ปี 2548-2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ปี 2548 3,860 ราย เฉลี่ย = 322 ราย/เดือน ปี 2549 4,078 ราย เฉลี่ย = 340 ราย/เดือน ปี 2550 3,798 ราย เฉลี่ย = 317 ราย/เดือน ปี 2551 3,981 ราย เฉลี่ย = 332 ราย/เดือน ปี 2552 3,939 ราย เฉลี่ย = 328 ราย/เดือน

ผู้ป่วยทั้งหมด : เปรียบเทียบสัดส่วนเฉลี่ยรายเดือนของปี 2548-2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ %ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : ข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง พบว่า เดือนม.ค. ก.ค. และส.ค. มีสัดส่วนสูงกว่าเดือนอื่น ๆ หมายเหตุ : % = ค่าเฉลี่ยผู้ป่วยรายเดือนของปี 2548-2552/ค่าเฉลี่ยต่อเดือนของปี 2548-2552

เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : ชาย 9 คน หญิง 6 คน

ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ 5,281 ราย เฉลี่ย = 440 ราย/เดือน ชาย = 57% (3,002/5,281) จยย. = 83% ของทั้งหมด (4,400/5,281) จยย.ชาย = 57% ของจยย.ทั้งหมด (2,523/4,400) อายุ <35 ปี 76% (3,962/5,281)

ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : เดือนกรกฎาคม มีผู้ป่วยสูงสุด

ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 83 % ของผู้ป่วยรวม (4,400/5,281) จยย.ชาย = 57% ของจยย.ทั้งหมด (2,523/4,400)

ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : 7-8 ใน 10 ราย อายุ < 35 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ 2,678 ราย เฉลี่ย = 223 ราย/เดือน ชาย = 69% (1,858/2,678) จยย. = 80% ของทั้งหมด (2,153/2,678) จยย.ชาย = 69% ของจยย.ทั้งหมด (1,490/2,153) อายุ <35 ปี 64% (1,721/2,678)

ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : ชาย = 69% (1,858/2,6178) สูงกว่าหญิง 2 เท่า

ผู้ป่วยใน : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ผู้ป่วยใน : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 80 % ของผู้ป่วยรวม (2,153/2,678) จยย.ชาย = 69% ของจยย.ทั้งหมด (1,490/2,153)

ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : 43% ของผู้ป่วยเป็นเด็กและเยาวชนอายุ < 25 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551-2552 : รายเดือน โรงพยาบาลหาดใหญ่ เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551-2552 : รายเดือน โรงพยาบาลหาดใหญ่ %ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : เดือนพ.ย. มีสัดส่วนผู้ป่วยต่ำกว่าเดือนอื่น ๆ หมายเหตุ : % = จำนวนผู้ป่วยรายเดือน/ค่าเฉลี่ยต่อเดือนของปีเดียวกัน

สรุป กลุ่มเสี่ยง : เพศชาย 7 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล เป็นชาย กลุ่มเสี่ยง : รถจักรยานยนต์ 8 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บ มาจากรถจักรยานยนต์ กลุ่มเสี่ยง : อายุ < 35 ปี 7 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บ อายุต่ำกว่า 35 ปี 5 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บ อายุต่ำกว่า 25 ปี กลุ่มเสี่ยง : อายุ >45 ปี 1 ใน 4 ราย ของผู้บาดเจ็บที่ต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล อายุมากกว่า 45 ปี

ข้อเสนอแนะ มาตรการลดความเสี่ยงรถจักรยานยนต์ จัดแบ่งช่องทางสำหรับรถจักรยานยนต์ รณรงค์ความปลอดภัยการใช้รถจักรยานยนต์ เช่น เปิดไฟหน้ารถ ไม่วางสิ่งของในตระกร้าหน้ารถ สวมหมวกกันน็อค ตรวจสอบสภาพรถ เช่น ไฟสัญญาณ ฯลฯ มาตรการเพิ่มความปลอดภัยรถจักรยานยนต์ ส่งเสริมการฝึกทักษะขับขี่ที่ถูกต้อง