General Purpose TV Interfacing Module การส่งสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปแสดงผลบนโทรทัศน์ โดย นายเกื้อกูล กุมรัมย์ รหัส 483040092-9 นายโกศล แสนอุบล รหัส 483040093-7 อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. วาธีส ลีลาภัทร
Out Line ที่มาและความสำคัญ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การออกแบบ ผลการทดลอง สรุป Q&A
ที่มาและความสำคัญ โทรทัศน์สามารถแสดงผลแทนคอมพิวเตอร์ มีข้อมูลแบบ ASCII Code ขนาด 8 bit ผ่านทางพอร์ต RS232 ไมโครคอนโทรลเลอร์เป็นตัวรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์แล้วส่งต่อไปยังโทรทัศน์ การสร้างภาพบนจอเครื่องโทรทัศน์ทำได้โดยควบคุมสัญญาณอนาล็อกให้สร้างสัญญาณ Horizontal sync pulse และ Vertical sync pulse การแสดงผลจะแสดงเฉพาะสีขาว และ สีดำ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การออกแบบการแสดงผลของเครื่องโทรทัศน์ขั้นต้น การออกแบบการแสดงผลสีดำบนเครื่องโทรทัศน์ การออกแบบการแสดงผลสีขาวบนเครื่องโทรทัศน์
การออกแบบการแสดงผลของเครื่องโทรทัศน์ขั้นต้น(cont.) การออกแบบการแสดงผลแบบ 3 เส้นบนเครื่องโทรทัศน์
ผลการทดลอง การปรับปรุงขนาดตัวอักษรและการแสดงผล การปรับปรุง dot ให้มีขนาดเล็กลง การแสดงตัวอักษรบนหน้าจอโทรทัศน์แบบหลายตัวอักษร
การปรับปรุงตัวอักษรและการแสดงผล (Cont.) การออกแบบตัวอักษร
ผลการทดลอง การแสดงตัวอักษร การแสดงผลกราฟฟิกส์ ตัวอักษรทั่วไป ข้อความ เส้นตรง สามเหลี่ยมมุมฉาก สี่เหลี่ยม
การแสดงตัวอักษร การแสดงตัวอักษรทั่วไป
การแสดงตัวอักษร(cont.) การแสดงข้อความ คำสั่ง “x1,x2,string”
การแสดงผลกราฟฟิกส์ วิธีการสร้างเส้นตรง
การแสดงผลกราฟฟิกส์(cont.) เส้นตรง คำสั่ง s(x1,y1|x2,y2)
การแสดงกราฟฟิกส์ (cont.) สามเหลี่ยมมุมฉาก คำสั่ง t(x1,y1|x2,y2)
การแสดงกราฟฟิกส์ (cont.) สี่เหลี่ยม r(x1,y1|x2,y2)
สรุป การแสดงผลบนหน้าจอโทรทัศน์แบ่งเป็น 2 แบบ การแสดงผลตัวอักษร การแสดงผลกราฟฟิกส์ การแสดงผลบนหน้าจอโทรทัศน์แบ่งเป็น 2 แบบ การแสดงผลตัวอักษร การแสดงผลหนึ่งหน้าจอโทรทัศน์สามารถทำการแสดงผลได้ทั้งหมด 72 ตัวอักษร แบ่งออกเป็น 9 บรรทัด แต่ละบรรทัดสามารถทำการแสดงได้ 8 ตัวอักษร การแสดงผลกราฟฟิกส์ การแสดงผลกราฟฟิกส์ประกอบไปด้วย รูปเส้นตรง รูปสามเหลี่ยม และรูปสี่เหลี่ยม
Q & A