การประชุมครูในเขตอุทยานแห่งชาติแหลมสน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
Law on Natural Resource Management
การประชุมครูในเขตอุทยานแห่งชาติแหลมสน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
การประชุมครูในเขตอุทยานแห่งชาติแหลมสน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมทางภาษา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
นวัตกรรมการทดสอบความรู้เดิม
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
บทที่ 6 การนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
Energy and the environment พลังงานและสิ่งแวดล้อม
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
สมาชิก 1.น.ส.ศรวณีย์ อินทร์วงศ์ เลขที่ 11
Process Analysis การวิเคราะห์กระบวนการ
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
โครงการฟื้นฟูอุทยานแห่งชาติแหลมสนหลังภัยสึนามิ
 To flow of information and knowledge between villagers.  To receive opinion from villagers.  To increased public awareness of natural resource management.
Workshop on Planning, Coastal Resources and Sustainable Management in Laem Son National Park at Meeting Room of the Village (Ban Tayang, Tumbon Moungkrung,
วาระที่ การเปิดและมอบโครงการประปาหมู่บ้านให้ อบต. จ. ขอนแก่น จ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
Introduction to TKT Test
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ด้วยมูเดิ้ล ในโรงเรียนสังกัดกองกำกับการตำรวจ ตระเวนชายแดนที่ 44 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ด้วยมูเดิ้ล ในโรงเรียนสังกัดกองกำกับการตำรวจ.
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
ชุมชนเข้มแข็ง ด้านการ เตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติ
แผนงานป้องกันและลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรอุทยาน แห่งชาติทางทะเล ( กิจกรรมจัดการแนวปะการังและชายหาด )
Oct 6, 2009 Planning for e-Learning Teaching ฐาปนีย์ ธรรมเมธา กอบกุล สรรพกิจจำนง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ระบบบริการเกรดออนไลน์
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
โครงการวิจัย 1 ปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน จากการใช้ผลการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) ประกอบการอนุญาตฯนิคมอุตสาหกรรมลำพูน โดยกลุ่มที่
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
ผลงานวิจัยทางการศึกษา ด้านอาชีวศึกษา The study of any cause of students’ dropout in vocation education of Charansanitwong school of Business subject to.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การนิยามศัพท์ การทำวิจัยจะต้องมีการนิยามศัพท์ เพราะคำศัพท์มีหลายความหมาย ผู้วิจัยจำเป็นต้องนิยามคำศัพท์ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเข้าใจความหมายที่ใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
หนึ่งในพันธกิจของคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มอ. ภูเก็ต คือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมครูในเขตอุทยานแห่งชาติแหลมสน โครงการฟื้นฟูอุทยานแห่งชาติแหลมสนหลังภัยสึนามิ Tsunami Impacts in Laem Son National Park การประชุมครูในเขตอุทยานแห่งชาติแหลมสน ณ สถานีวิจัยทรัพยากรชายฝั่งระนอง Ranong Coastal Resource Research Station 3 March 2008

รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม ลำดับที่ รายชื่ออาจารย์ โรงเรียน 1 น.ส.วิจิตรา คงสนิท รร.ไทยรัฐวิทยา๖๗ 2 นายผดุง ละเอียดศิลป์ 3 นางภาวินี เดชโชติ รร.บ้านกำพวน 4 นายกฤษ แก้วซ้ำ รร.บ้านสุขสำราญ 5 นายพูนศักดิ์ จินดาเกตุ รร.บ้านภูเขาทอง 6 นางสาวิณี งามประดิษฐ์ รร.สุขสำราญ 7 นายสัตยา โพธิ์ทองคะนอง รร.บ้านบางหว้า 8 น.ส.พิกุล พงษ์สถิต รร.บ้านบางเบน 9 นางสร้อยทิพย์ รักชู รร.บ้านสำนัก 10 นางศิริรัตน์ เสกสรร รร.บ้านทะเลนอก 11 นายศุภชัย มาลาศิลป์ รร.บ้านควนไทรงาม

เจ้าหน้าที่โครงการ TILS รายชื่อเจ้าหน้าที่ ลำดับที่ รายชื่อเจ้าหน้าที่ หน่วยงาน 1 นายวิสัย คงแก้ว เจ้าหน้าที่โครงการ TILS 2 น.ส.ชวาพร จิตตนูนท์ หัวหน้าโครงการ TILS 3 นายเดชา ดวงนามล 4 น.ส.ฝารีด้า เอื้องาน 5 นายมนตรี สาลี 6 นายธเนศ อินตัน 7 นายนัฐวุฒิ ทองสินธ์ 8 นายเผ่าเทพ เชิดสุขใจ

วาระการประชุม 1. แสดงความคิดเห็นต่อคู่มือการเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล เล่มที่ 1 2. วางแผนและแก้ไขวิธีการสอนคู่มือการเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล เล่มที่ 1 3. วางแผนเนื้อหาคู่มือการเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล เล่มที่ 2 4. จัดตั้งกลุ่มอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อร่วมกันแก้ไขปรับปรุงคู่มือการเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลทั้งเล่มที่ 1 และเล่มที่ 2

Agenda 1. To discuss the draft of teaching pack I 2. To plan teaching methods for teaching pack I 3. To discuss topics for teaching pack II 4. To establish an advisory group to revise teaching pack I and teaching pack II

(Opening and introduction) พิธีเปิดการประชุม (Opening and introduction)

อธิบายเนื้อหาของคู่มือการเรียนรู้และเสนอความคิดเห็น (The content of teaching pack I explained by SOO and the discussion of teaching pack I & II)

การจัดตั้งกลุ่มอาจารย์ที่ปรึกษาและพิธีปิด (Establishment of advisory group and closing)

ผลการประชุม 1. แสดงความคิดเห็นต่อคู่มือการเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล เล่มที่ 1 1.1 เนื้อหา กิจกรรมและภาพประกอบส่วนใหญ่มีความเหมาะสมแล้ว 1.2 อาจารย์สามารถปรับหรือเลือกเนื้อหาที่เหมาะสมมาสอนให้แก่นักเรียนแต่ละ ชั้น ตามความเหมาะสม 1.3 เพิ่มเติมเนื้อหาเรื่องปะการังในบทที่ 5 1.4 ควรจะเพิ่มคำอธิบายคำศัพท์ 2. ร่วมกันวางแผนและแก้ไขวิธีการสอนคู่มือการเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล เล่มที่ 1 2.1 เปลี่ยนคำศัพท์บางคำให้มีความเหมาะสม เมื่อนำไปสอนในชั้นเรียน 2.2 ควรประเมินความรู้ของนักเรียนผลก่อนและหลังการสอน 2.3 ควรมีเจ้าหน้าที่โครงการเข้าไปร่วมจัดกิจกรรมในชั่วโมงการเรียนการสอน

3. ร่วมกันเสนอเนื้อหาของคู่มือการเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล เล่มที่ 2 ดังนี้ 3.1 หัวข้อสำหรับบทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก 3.1.1 ความหมาย สาเหตุ ผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศโลก 3.1.2 ชั้นบรรยากาศ การเกิดลม เมฆ ฝน พายุ ปรากฏการณ์เอลนิโน-ลานิญา 3.1.3 วิธีแก้ไขที่นักเรียนจะมีส่วนร่วมได้ 3.2 หัวข้อสำหรับบทที่ 3 ผลกระทบจากการทำประมงและการใช้ทรัพยากรที่ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ 3.2.1 ประเภทของการทำประมงและเครื่องมือประมงประเภทต่างๆ ในจังหวัดระนอง 3.2.2 ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการทำประมงเกินอัตรา และการทำประมงที่ผิดวิธี 3.2.3 การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เข้ามาช่วยในการจัดการการประมง 3.2.4 วิธีแก้ไขที่นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมได้

3.3 หัวข้อสำหรับบทที่ 4 การอนุรักษ์และความหลากหลายทางชีวภาพ 3.3.1 ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ 3.3.2 สัตว์ทะเลกลุ่มต่างๆ 3.3.3 แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลในจังหวัดระนอง 3.3.4 ชื่อของหน่วยงานที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลในจังหวัดระนอง 3.3.5 แนวทางการอนุรักษ์ที่นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมได้ 4. จัดตั้งกลุ่มอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อร่วมกันแก้ไขปรับปรุงคู่มือการเรียนรู้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลเล่มที่ 1 และเล่มที่ 2 ดังนี้ 4.1 คู่มือเล่มที่1 –รร.ไทยรัฐวิทยา ๖๗ (2 ท่าน) รร.บ้านกำพวน และรร.บ้านภูเขาทอง 4.2 คู่มือเล่มที่2 - รร.สุขสำราญ รร.บ้านสุขสำราญ รร.บ้านทะเลนอก และรร.ควนไทรงาม

SUMMARY The teacher meeting was attended by 11 teachers from 12 schools within the Laem Son National Park in Ranong and Phang Nga. Eight staff from KURDI and the Department of Marine Science, Kasetsart University. 1.The discussion of the draft of teaching pack 1 indicated that: Most of the contents of the posters and activities are appropriate. The packs need discussion of coral reefs in lesson 5. The packs need a glossary and references Teacher must be able to choose the material that they use in different classes.

3.1 Lesson 2 Climate change. 2. The following changes were agreed: To change technical terms to simple word. To add pre-test and post-test in each teaching pack. It was agreed that the SOO will promote the activities of the teaching pack in science day at schools. 3. Discussion of topics for teaching pack II suggested the following amendments: 3.1 Lesson 2 Climate change. 3.1.1 Add meaning, cause and effect of climate change. 3.1.2 Add content on atmosphere, cloud, wind, rain, storms and El nino-La nina. 3.1.3 How students can prevent climate change.

3.2 Lesson 3 Pressures on the natural environment from fishing and resource exploitation Add types of fishing activity and fishing gear used in Ranong province Discuss ecosystem effects from inappropriate fishing methods and over fishing Discuss approach of using GIS for fisheries management Discuss the ways in which students can prevent poor fishing practices. 3.3 Lesson 4 Conservation and biodiversity Discuss the meaning of conservation and biodiversity Discuss groups of marine organisms Discuss ways to conserve coastal marine resources in Ranong

Discuss conservation in Ranong and how students can help 4. The establishment of an advisory group to revise teaching pack I and teaching pack II The advisory group for teaching pack I will be 4 teachers from Thairatvitaya 67 (2 person), Ban Kamphun and Ban Phukaothong. They will discuss and review this teaching pack on 17th March 08. 4.2 The advisory group for teaching pack II will be 4 teachers from Suksumran, Ban Suksumran, Ban Talaynok, Kuansaingam. They will discuss and review next teaching pack in the end of May.