งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการฟื้นฟูอุทยานแห่งชาติแหลมสนหลังภัยสึนามิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการฟื้นฟูอุทยานแห่งชาติแหลมสนหลังภัยสึนามิ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการฟื้นฟูอุทยานแห่งชาติแหลมสนหลังภัยสึนามิ
Science Meeting In Bangkok 3rd July 2006

2 Introduction เป็นที่ทราบกันที่ว่าตลอดแนวชายฝั่งทั้ง 2 ด้านของประเทศไทยอุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติทั้งในแง่ความหนาแน่นและความหลากหลายทางชนิด ตลอดช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาทรัพยากรธรรมชาติถูกนำมาใช้ประโยชน์อย่างมากจนอาจเกินศักย์การผลิตทางธรรมชาติ และในขณะเดียวกันแหล่งที่อยู่อาศัยชายฝั่งรบกวนและบางแห่งถึงขั้นทำลายจนมีพื้นที่ลดน้อยลงอย่างน่าใจหาย ตัวอย่างเช่นป่าชายเลนและแนวปะการัง เป็นต้น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในฐานะสถาบันการศึกษาที่ให้ความสำคัญในการเรียนการสอนและการวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดตั้งสถานีวิจัยทรัพยากรชายฝั่งระนอง ณ หาดประพาส กิ่งอำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง เพื่อดำเนินการศึกษาวิจัยและให้ความรู้แก่ชุมชนท้องถิ่นในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้มีคงอยู่อย่างยั่งยืนตลอดไป โดยไม่มีใครคาดคิดในวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ได้เกิดพิบัติภัยคลื่นสึนามิเข้าทำลาย 6 จังหวัดตามแนวชายฝั่งทะเลอันดามันและพื้นที่หนึ่งที่ถูกอิทธิพลของคลื่นยักษ์เข้าทำลายคือ สถานีวิจัยทรัพยากรชายฝั่งระนองจนเกิดความเสียหายทั้งชีวิตของเจ้าหน้าที่ และทรัพย์สินต่าง ๆ ของทางราชการและชุมชนที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง ในขณะเดียวกันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตลอดชายฝั่งทะเลอันดามันได้รับอิทธิพลและถูกรบกวนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติซึ่งเป็นเรื่องที่น่าสนใจอย่างยิ่งสำหรับวงการด้านสมุทรศาสตร์และสิ่งแวดล้อมทางทะเล สหภาพยุโรปได้เล็งเห็นความสำคัญในการฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมชายฝั่งทะเลในบริเวณอุทยานแห่งชาติแหลมสนซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของสถานีวิจัยทรัพยากรชายฝั่งระนอง จึงได้ให้การสนับสนุนเงินทุนในการดำเนินงานการจัดการและเฝ้าติดตามอิทธิพลของคลื่นสึนามิต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมชายฝั่งในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแหลมสน เป็นโครงการระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2549 ภายใต้โครงการดังกล่าวกิจกรรมหนึ่งที่สำคัญ คือ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการจัดการทรัพยากรชายฝั่งที่เหมาะสม (Approaches to Coastal Zone Management) เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิชาการ และผู้บริหารที่เกี่ยวข้องทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ปรึกษาและแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็นในการนำไปใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชายฝั่งทะเลได้อย่างเหมาะสม ซึ่งผลจากการจัดการอย่างถูกต้องไม่เพียงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมชายฝั่งของประเทศไทย แต่จะยังผลต่อการรักษาสมบัติทางธรรมชาติของโลกอีกด้วย

3 Meeting Programme “Approaches to Coastal Zone Management”
Monitoring and managing the marine resources of Laem Son national Park following Tsunami Project Monday 3rd July 2006 Nontri 3 meeting room at KU HOME, Kasetsart University, Bangkok 8:45 – 9:00 Welcome and Introduction to the project By Chittima Aryuthaka and Mike Kendall Session 1 9:00 – 9: Presentation “Climate Change and its impact on management” by Mike Kendall 9:30 – 10: “Lesson Learned from CHARM Project”by Sanchai Tanthawanich (Director of CHARM) 10:00 – 10:30 “Ocean Acidification” by Steve Widdicombe 10:30 – 10:45 Morning tea 10:45 – 11:15 “Coastal and Marine resources after Tsunami” by Jerdjinda Chotiyaputta 11:15 – 11:45 “Future Tourism and Biological Diversity” by Thon Thomrongnawasawas 11:45 – 13:00 Lunch

4 Session 2 13:00 – 13:30 “Map based management” by Bob Foster Smith 13:30 – 14:00 “Biomarkers and their role in monitoring” by Mike Kendall 14:00 – 14:20 Afternoon Tea 14:20 – 14:50 “Approaches to the design of monitoring” by Paul Somerfield 14:50 – 15:20 “Awareness and view from the representative of National Park” by Suwan Pitaksintorn 15:20 – 16:00 Discussion to cover ongoing work within Thai government on management and monitoring Travel bursaries scheme launch

5 Content Presentation List Participants List Activity

6 Presentation List Approaches to coastal zone management
“Climate Change and its impact on management” by Mike A. Kendall “Lesson Learned from CHARM Project” by Sanchai Tanthawanich Ocean Acidification by Steve Widdicombe “Coastal and Marine resources after Tsunami” by Jerdjinda Chotiyaputta BFS spatial planning by Bob Foster Smith Biomarkers and Ecosystem Health by Mike A. Kendall “Approaches to the design of monitoring” by Paul Somerfield The travel bursary scheme

7 Participants List Attendee In English Position Organization
ดร. พรสุข จงประเสริฐ Dr. Pornsook Chongprasith ผู้อำนวยการส่วนแหล่งน้ำทะเล Marine Environment Division Pollution Control Department ดร. เจิดจินดา โชติยะปุตตะ Dr. Cherdjinda Chotiyaputta ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการจัดการทรัพยากรทางทะเล Department of Marine and Coastal Resources คุณสุวรรณ พิทักษ์สินธร Suwan Pithaksinthorn ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง Department of National Park คุณสัญชัย ตัณฑวณิช Sanchai Tanthawanich ผู้อำนวยการโครงการฝ่ายไทย CHARM Project ศ.ดร.รังสิต สุวรรณมรรคา Prof. Dr.Rangsit Suwanmakkha ผู้อำนวยการ KURDI ผศ.สิทธิชัย เกษตรเกษม Assist.Prof. Sitthichai Kasetkasem Deputy director/head of RCRRS ผศ.สุนันท์ ภัทรจินดา Assist.Prof. Sunan Patarajinda Head of Department Dept.Marine Science, Faculty of fisheries ดร.สุริยัน ธัญกิจจานุกิจ Dr. Suriyan Tunyakijjanukij Lecturer Dept. Marine Science, Faculty of Fisheries ดร.ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ Dr. Thorn Thanrongnawasawat

8 ผศ.ธีรพงศ์ ด้วงดี Assist.Prof. Teerapong Duangdee Lecturer Dept. Marine Science, Faculty of Fisheries คุณมิกมินทร์ จารุจินดา Mickmin Charujinda Director East Marine and Coastal Research Centre,DMCR คุณอัญชลี จันทร์คง Anchalee Chankong นักวิชาการ คุณจันทร์เพ็ญ วุฒิวงศ์ Chanpen Wutthiwong คุณพจนา บุญยเนตร Potchana Boonyanate คุณอาทร วีระเศรษฐกุล Athorn Weerasetthakul เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน Office of natural Resources and Environmental Policy and Planning (ONEP) คุณมาริสา อิงธรรมจิตร Marisa Ingthamjit นักวิชาการสิ่งแวดล้อม คุณจงกลนี แช่มช้าง Jongkonnee Chamchang รอง ผอ.โครงการ CHARM Project

9 คุณมัณฑนา ภิรมย์นิ่ม Manthana Phiromnim หัวหน้าฝ่ายเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ CHARM Project นายบำรุงศักดิ์ ฉัตรอนันทเวช Bamroongsak Chatananthawej นักวิชาการประมง Department of Marine and Coastal Resources, Ministry of Natural Resources and Environmental นายสมโภชน์ นิ้มสันติเจริญ Sompoch Nimsantijareon RCRRS นส.ชนชนก อรุณเลิศ Chonchanok Aroonlert นักวิชาการสิ่งแวดล้อม 5 คพ. นส.เนตรดาว วิเศษโส Natedaw Wisesso กรมประมง นส.อนิดา สงนุ้ย Anida Songnui

10 Presentation by Dr. Chittima Aryuttaka
Activity Presentation by Dr. Chittima Aryuttaka

11

12 Presentation by Dr. Mike A. Kendall

13 Presentation by Sanchai Tanthawanich

14 Presentation by Steve Widdicombe

15 Presentation by DR. Jerdjinda Chotiyaputta

16 Presentation by DR. Thon Thomrongnawasawas

17

18 Lunch Time

19 Presentation by Bob Foster Smith

20 Presentation by Paul Somerfield

21

22

23 The End


ดาวน์โหลด ppt โครงการฟื้นฟูอุทยานแห่งชาติแหลมสนหลังภัยสึนามิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google