01402313 ชีวเคมี II Bioenergetics.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
พลังงานอิสระ (Free energy)
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
Cellular Respiration 18,25 ก.ย. 56
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
Introduction to Enzymes
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
โดย นางสุริยา มณีนุตร์
แบบของการเพิ่มประชากร
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
Ecological Balance Ecosystem Homeostatic System
ถาม สารอาหารหมุนเวียนในระบบนิเวศอย่างไร?
ระบบเทคโนโลยี Technology System
Information System Project Management
Ecodesign นำเสนอ โดย นายนราวิชญ์ รุ่งเดช เลขที่ 25
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
Carbohydrates  Macromolecules  Micromolecules - sucrose - starch
Protein.
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
โครงสร้างในการแลกเปลี่ยนก๊าซของสิ่งมีชีวิต
การขนส่งอสุจิสู่ Epididymis
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
การจัดระบบในร่างกาย.
The General Systems Theory
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
Part II - พลังงานจากสารอาหาร
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Introduction to Metabolism
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
บทนำ แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการติวสอบ O-net ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 และผู้ที่สนใจได้ฝึกและทบทวนความรู้ โดยขอบข่ายเนื้อหาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
ความหมายของสิทธิบัตร
Biochemistry Quiz 2009.
ทดสอบความรู้วิชาชีวเคมี เรื่อง
ใช้ในFlip Album รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง(Change)
Phosphorus and Phosphate
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูก 8 ข้อขึ้นไป 5 คะแนน ตอบถูก 7 ข้อ 4 คะแนน ตอบถูก 6 ข้อ 3 คะแนน ตอบถูก 5 ข้อ 2 คะแนน ตอบถูกน้อยกว่า 4 ข้อ 1 คะแนน ตอบไม่ถูกเลยไม่ได้รับคะแนน.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 2)
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
Energy transformation การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
CARBOHYDRATE METABOLISM
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
CARBOHYDRATE METABOLISM
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01402313 ชีวเคมี II Bioenergetics

Bioenergetics หมายถึง การสร้างพลังงานในสิ่งมีชีวิต กระบวนการ endergonic ถูกขับเคลื่อนโดยปฏิกิริยา exergonic ที่ได้จากการ oxidation สารอาหาร สารประกอบ “พลังงานสูง” ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดพลังงานคือ ATP

Bioenergetics

การ couple กันของปฏิกิริยา ตัวอย่างเช่น การเติมหมู่ฟอสเฟตให้กลูโคส ใช้พลังงานจาก ATP

การ couple กันของปฏิกิริยา อีกตัวอย่าง เป็นปฏิกิริยาที่ใช้สร้าง ATP

ค่า Go' ของสารประกอบฟอสเฟต

Consumption of ATP ใช้ ATP เพื่อ... ย่อยสารอาหารในขั้นตอนแรก ๆ เช่น การสร้าง Glucose-6-P การเปลี่ยนไปมาระหว่าง NTP เช่น เปลี่ยน ATP เป็น GTP การหดตัวของกล้ามเนื้อ การขนส่งสารผ่านเมมเบรนต้านความเข้มข้น (active transport)

Formation of ATP วิธีที่ใช้สร้าง ATP substrate-level phosphorylation พบในขั้นตอนแรก ๆ ของ carbohydrate metabolism Oxidative phosphorylation และ photophosphorylation ซึ่งอาศัยพลังงานจากการขนส่ง H+ ผ่าน membrane

Thermodynamics of Life สิ่งมีชีวิตเป็น open system จึงไม่ได้อยู่ในสถานะ equilibrium คือ มีการใช้พลังงานเพื่อการดำรงชีวิต และรักษาความเป็น “ระเบียบ” ของระบบต่าง ๆ การควบคุมระบบ อาศัยกิจกรรมต่าง ๆ ของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับ metabolic pathway ต่าง ๆ ระบบของสิ่งมีชีวิต อยู่ในสถานะ “มั่นคง” (steady state) ไม่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา