“การเตรียมความพร้อม สำหรับผู้สนใจเข้าร่วมโครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน”
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ นโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทีมงานอนุรักษ์พลังงาน และผลงาน ข้อมูลทั่วไปของโรงงาน ข้อมูลการใช้พลังงานย้อนหลัง มาตรการอนุรักษ์พลังงานที่จะสมัครเข้าร่วมโครงการ การใช้งานและวิธีการควบคุมอุปกรณ์ก่อนดำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงาน แผนการตรวจวัด วิธีการตรวจวัด เครื่องมือตรวจวัด และ ผลการตรวจวัด มาตรฐานการตรวจวัด ผลประหยัดที่คาดว่าจะได้รับและระยะเวลาคืนทุน แผนการดำเนินงานเพื่อให้มาตรการเป็นจริง
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ นโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงาน ผู้บริหารจะต้องมีนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานที่ ชัดเจน มีการประชาสัมพันธ์ และสนับสนุน นโยบาย อนุรักษ์พลังงานไปสู่การปฏิบัติที่เป็นจริงและเป็น วัฒนธรรมของสถานประกอบการ
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ ทีมงานอนุรักษ์พลังงาน และผลงาน ได้แก่ การแต่งตั้งทีมงานอนุรักษ์พลังงาน ผลงานด้านการอนุรักษ์พลังงาน การกำหนดตัวผู้ประสานงาน - เข้าใจการทำงานโดยเฉพาะเข้าร่วมสัมมนาในครั้งนี้ - เข้าใจวิธีการตรวจวัด - มีวิธีการสื่อสารกับทีมงานที่ทำการตรวจวัดได้อย่างเข้าใจ - มีลักษณะที่เป็นมิตรในการติดต่อประสานงาน - หากมีหลายมาตรการควรมีผู้ช่วยผู้ประสานงาน ที่สามารถติดต่อได้โดยตรง - ควรมีช่องทางการสื่อสารมากกว่า 1 ช่องทาง เช่น โทรศัพท์ อินเตอร์เนต เป็นต้น
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ ข้อมูลทั่วไปของสถานประกอบการ ได้แก่ สถานที่ตั้ง อาคาร หรือ โรงงาน กระบวนการผลิต และ พลังงานที่ใช้ กำลังการผลิต วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ ระยะเวลาการเปิดทำการ อัตราภาษีของสถานประกอบการ
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ ข้อมูลการใช้พลังงานย้อนหลัง ได้แก่ ใบเสร็จ หรือ ใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า ใบเสร็จค่าถ่านหินและค่าความร้อน ใบเสร็จค่าน้ำมันเตาและค่าความร้อน ใบเสร็จค่าก๊าซ LPG และค่าความร้อน ใบเสร็จค่าความร้อนจากไอน้ำ และ Enthalpy ของไอน้ำที่รับและน้ำร้อนที่จ่ายกลับคืน ใบเสร็จค่าชีวมวล และค่าความร้อน (กรณีอื่นๆ เช่น น้ำมันร้อน น้ำร้อน น้ำเย็น ที่ทำการซื้อขาย) ผลผลิตรายเดือนในหนึ่งปี ระยะเวลาการใช้งานต่อปี วัตถุดิบรายเดือนในหนึ่งปี
มาตรการที่เข้าข่ายการขอรับ สิทธิประโยชน์ทางภาษี มาตรการที่ดำเนินการจะต้องไม่ได้รับหรืออยู่ระหว่างการพิจารณาการสนับสนุนจากโครงการอื่นๆ ภายใต้กองทุนเพื่อการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน มาตรการที่ดำเนินการต้องไม่ก่อให้เกิดมลภาวะเพิ่มขึ้น หรือเกิดมลภาวะเกินกว่าค่ามาตรฐาน เช่น การปล่อยก๊าซเรือนกระจก การปล่อยน้ำเสีย ต้องการลดการใช้พลังงานเดิม หรือลดค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด หรือทดแทนการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงหรือไฟฟ้า ในกรณีที่มาตรการมีผลให้การผลิตมีการเปลี่ยนแปลง จะต้องมีการใช้พลังงานต่อหน่วยผลผลิตลดลง หรือมีประสิทธิภาพการใช้พลังงานเพิ่มขึ้น
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ มาตรการอนุรักษ์พลังงานที่สมัครเข้าร่วมโครงการ การชี้แจงให้ชัดเจนถึงสถานภาพและปัญหาอันเป็นที่มาของมาตรการ พลังงานทดแทน เปลี่ยนอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าของอุปกรณ์เดิม เพิ่มประสิทธิภาพอุปกรณ์เดิม ลดการเดินตัวเปล่า (เดินเครื่องตามภาระ) โดยการติดตั้งระบบควบคุมอัตโนมัติ เปลี่ยนอุปกรณ์ที่มีขนาดใหญ่เกินความจำเป็นออก เปลี่ยนกระบวนการผลิตโดยไม่เปลี่ยนคุณภาพของวัตถุดิบและผลผลิต รวมอุปกรณ์ที่มีฟังก์ชันเดียวกันให้ทำงาน Master/Slave รวมอุปกรณ์ที่มีฟังก์ชันต่างกันให้ทำงานร่วมกัน เดินเบาขณะที่ Hold ฟังก์ชันหนึ่งๆไว้
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ การใช้งานและวิธีการควบคุมอุปกรณ์ก่อนดำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ได้แก่ ใช้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิต (Process) ใช้เป็นสาธารณูปโภค (Utility) แผนผังการควบคุม (Control Diagram) Automatic ON/OFF Manual ON/OFF Manual SET/RESET PID control Set Point สภาพการใช้งานจริง สภาพแวดล้อม
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ แผนการตรวจวัด วิธีการตรวจวัด เครื่องมือตรวจวัด และ ผลการตรวจวัด ได้แก่ วันและเวลาที่เริ่มทำการวัด ระยะเวลาที่ทำการวัด เน้นความเป็นตัวแทนของทั้งปี จำนวนอุปกรณ์ที่จะทำการวัด วิธีตรวจวัดที่เป็นสากล วินัยในการจดบันทึก เครื่องมือวัดที่ได้รับการรับรองและมีจำนวนครบถ้วนในการวัด ผลการตรวจวัดที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของมาตรการ พลังงานที่ใช้ (ที่สูญเสีย) ต่อปริมาณผลผลิตที่ได้ (วัตถุดิบที่ป้อน) พลังงานที่ใช้ (ที่สูญเสีย) ต่อระยะเวลา หรือ กำลัง ผลการตรวจวัดที่เป็นตัวแทนของอุปกรณ์ทุกตัวได้ ผลการตรวจวัดที่เป็นตัวแทนของทั้งปีได้ เงื่อนไขก่อนตรวจวัด ทั้งก่อนปรับปรุงและหลังปรับปรุง ต้องมีการบำรุงรักษาที่ดี
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ มาตรฐานการตรวจวัด International Performance Measurement and Verification Protocol (IPMVP) ข้อกำหนดวิธี IPMVP เป็นแนวทางในการกำหนดวิธีการและรูปแบบในการตรวจวัดและพิสูจน์ผลการประหยัดพลังงาน (M&V Options) ของมาตรการอนุรักษ์พลังงาน
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ มาตรฐานการตรวจวัด รูปแบบ A. การตรวจวัดเพียงบางส่วนแยกตามมาตรการที่ปรับปรุง (Partially Measured Retrofit Isolation) ทำการตรวจวัดการใช้พลังงานเพียงบางส่วนตามมาตรการที่ทำการปรับปรุงโดยการตรวจวัดเฉพาะจุดเป็นช่วงเวลาสั้นๆ หรือแบบต่อเนื่องก็ได้ จากนั้นจึงนำค่าที่ได้มาคำนวณผลการประหยัดพลังงาน ทั้งนี้ส่วนที่ทำการตรวจวัดนี้จะแยกออกจากการใช้พลังงานในส่วนอื่นๆ ของสถานประกอบการอย่างชัดเจน
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ มาตรฐานการตรวจวัด รูปแบบ B. การตรวจวัดตามมาตรการที่ปรับปรุง (Retrofit Isolation) ทำการตรวจวัดการใช้พลังงานแยกตามมาตรการที่ทำการปรับปรุงซึ่งแยกออกจากการใช้พลังงานในส่วนอื่นๆ ของสถานประกอบการ จากนั้นจึงนำค่าพลังงานที่ได้มาคำนวณผลการประหยัดพลังงาน เน้นการตรวจวัดเต็มที่ โดยการตรวจวัดจะเป็นแบบต่อเนื่อง หรือวัดในช่วงสั้นเวลาสั้นๆต่อเนื่องกัน
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ มาตรฐานการตรวจวัด รูปแบบ C. พิจารณาการใช้พลังงานโดยรวมของสถานประกอบการ (Whole facility) ทำการตรวจวัดการใช้พลังงานที่เครื่องวัดรวมของสถานประกอบการ ซึ่งอาจเป็นมิเตอร์เดียวหรือหลายมิเตอร์ก็ได้ การตรวจวัดอาจเป็นแบบช่วงเวลาสั้นๆ หรือแบบต่อเนื่องตลอดระยะเวลาที่กำหนดหลังการปรับปรุง
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ มาตรฐานการตรวจวัด รูปแบบ D. การจำลองผล (Calibrated Simulation) ปริมาณการใช้พลังงานได้จากการจำลองระบบที่ทำการปรับปรุง ทั้งนี้รูปแบบดังกล่าวจำเป็นต้องใช้ซอฟ์ทแวร์ที่ได้รับการยอมรับและต้องใช้ผู้มีความชำนาญสูงในการจำลองระบบ
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ ผลประหยัดที่คาดว่าจะได้รับและระยะเวลาคืนทุน การคาดคะเนผลประหยัดจากข้อมูลพื้นฐานก่อนทำการตรวจวัด ประมาณการเงินลงทุน (บาท) ระยะเวลาคืนทุน = ผลประหยัดที่คาดว่าจะได้รับ (บาทต่อปี)
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ แผนการดำเนินงานเพื่อให้มาตรการเป็นจริง - ให้สอดคล้องกับปีงบประมาณ และระยะเวลาของ โครงการ - การดำเนินงานโดยบุคคลภายนอก เช่น ผู้รับเหมา บริษัท ในเครือ - การดำเนินงานโดยพนักงานของสถานประกอบการเอง - การรวบรวมใบเสนอราคาหรือใบเสร็จรายการค่าใช้จ่าย ของมาตรการ
รายละเอียดของใบสมัคร ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของสถานประกอบการ ส่วนที่ 2 ค่าปริมาณการใช้พลังงาน ส่วนที่ 3 การจัดการด้านพลังงานของสถานประกอบการ ส่วนที่ 4 วัตถุประสงค์และเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน
สถานประกอบการ /ผู้ตรวจวัด(M&V) ผู้ตรวจสอบ คณะกรรมการฯ ส่งใบสมัคร พิจารณาคุณสมบัติ ตอบรับและแต่งตั้ง ผู้ตรวจสอบ ดำเนิน มาตรการ อนุรักษ์ พลังงาน Pre Audit Post Audit ตรวจสอบ ส่งรายงาน Auditor เห็นชอบการ ตรวจวัด ตรวจสอบ 1 สถานประกอบการกรอกใบสมัครและส่งมาที่ พพ. ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด -ชื่อ ที่อยู่ -มาตรการอนุรักษ์พลังงานและผลประหยัด -แผนการตรวจวัดและพิสูจน์ผลการอนุรักษ์พลังงาน -ผู้ตรวจวัดการใช้พลังงาน 2 คณะกรรมการฯ พิจารณาเอกสารและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนถ้าไม่ครบถ้วน ทาง พพ.จะขอเอกสารเพิ่มเติมจากทางสถานประกอบการ 3 คณะกรรมการทำการคัดเลือกสถานประกอบการและกำหนดผู้ตรวจสอบพร้อมแจ้งไป ยังสถานประกอบการ 4 สถานประกอบการดำเนินการอนุรักษ์พลังงานและอำนวยความสะดวกให้ผู้ตรวจสอบ ตรวจสอบการตรวจวัดการใช้พลังงานของผู้ตรวจวัดทั้งก่อนและหลังการดำเนินการ อนุรักษ์พลังงานหรือติดตั้งอุปกรณ์อนุรักษ์พลังงาน 5 สถานประกอบการจัดทำรายงานเพื่อให้ผู้ตรวจสอบลงนาม 6 ผู้ตรวจสอบลงนามเห็นชอบการตรวจวัดและส่งรายงานมายังคณะกรรมการ 7 คณะกรรมการตรวจสอบ หากเห็นชอบจึงอนุมัติจ่ายเงินสนับสนุนตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการสนับสนุน 8 สถานประกอบการนำหลักฐานการเสียภาษีและเอกสารอนุมัติจ่ายเงินสนับสนุนสิทธิ ประโยชน์ทางภาษีจากคณะกรรมการฯ มายื่นขอรับเงินภาษีคืนจาก พพ. ให้สิทธิประโยชน์
ส่วนที่ 3 การจัดการด้านพลังงานของสถานประกอบการ ส่วนที่ 3 การจัดการด้านพลังงานของสถานประกอบการ นโยบายด้านการประหยัดพลังงานของสถานระกอบการ โครงสร้างทีมงานด้านพลังงาน สถานภาพและปัญหาการใช้พลังงานในสภาวะปัจจุบัน ความพยายามและผลงานการอนุรักษ์พลังงาน ข้อมูลอื่นๆ (ถ้ามี)
โดยสนับสนุนเป็นจำนวนเงินสูงสุดไม่เกิน 2 ล้านบาทต่อสถานประกอบการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไข เป็นการสนับสนุนแบบคิดคำนวณสิทธิประโยชน์จาก ผลประหยัด (Performance-base Incentive) คือ “การนำผลประหยัดที่ตรวจวัดได้อย่างชัดเจนจากการดำเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงาน มาคำนวณเป็นเงินสนับสนุนในอัตราภาษี (เช่น 30%) ของมูลค่าผลประหยัดที่ได้” เงินสนับสนุน= ผลประหยัดที่ตรวจวัดได้จริงภายในปีภาษี x อัตราภาษี โดยสนับสนุนเป็นจำนวนเงินสูงสุดไม่เกิน 2 ล้านบาทต่อสถานประกอบการ
ส่วนที่ 4 วัตถุประสงค์และเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน ส่วนที่ 4 วัตถุประสงค์และเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงาน มาตรการอนุรักษ์พลังงานที่จะดำเนินการในโครงการฯ วิธีการ ขั้นตอน และแผนการดำเนินงาน ผลประหยัดที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
สรุปขั้นตอนการดำเนินงานของที่ปรึกษาตรวจสอบ (Auditor) การติดต่อประสานงานครั้งแรก (First Contact) ตรวจสอบการใช้พลังงานและวางแนวทางการตรวจวัดก่อนการปรับปรุง การตรวจสอบและรับรองผลการตรวจวัดก่อนการปรับปรุง รวบรวม วิเคราะห์ และจัดทำรายงานผลการตรวจวัดก่อนการปรับปรุง วางแนวทางการตรวจวัดหลังการปรับปรุง ตรวจสอบและรับรองผลการตรวจวัดก่อนการปรับปรุง รวบรวม วิเคราะห์ และจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการโครงการฯ
สรุปภาพรวมการดำเนินงานโครงการ แยกตามกลุ่มมาตรการ ลำดับ กลุ่มมาตรการ ผลประหยัด (บาท/ปี) จำนวน 1 มาตรการเปลี่ยนเชื้อเพลิง 227,196,099.48 9 2 มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต 78,918,405.80 18 3 เปลี่ยน/ปรับปรุงประสิทธิภาพ Chiller 23,735,429.61 11 4 มาตรการนำความร้อนทิ้งกลับมาใช้ 17,493,605.26 7 5 มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร/อุปกรณ์ 16,336,399.85 10 6 มาตรการติดตั้งอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบ 10,716,676.58 16 ปรับปรุงประสิทธิภาพระบบปรับอากาศ 9,450,447.29 8 บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ 5,978,373.99 13 มาตรการอุปกรณ์ปรับแรงดันไฟฟ้า 3,875,941.86 มาตรการหุ้มฉนวน 3,527,914.27 มาตรการก๊าซชีวภาพ (Biogas) 1,847,223.32 12 มาตรการย้ายแหล่งจ่ายไฟฟ้าเพื่อลดต้นทุน 718,480.00 โคมไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง 700,034.83 14 Heat Pump 692,453.15 15 เปลี่ยนประเภทหลอดไฟส่องสว่าง 348,569.13
ตัวอย่าง
บริษัท เอ็นโอเค พรีซิชั่น คอมโพเนนท์ (ประเทศไทย) จำกัด ประเภทธุรกิจ: ผลิตชิ้นส่วนพลาสติก ประเภทสถานประกอบการ: โรงงานควบคุม สถานที่ตั้ง: 189 หมู่ 16 ถ.อุดมสรยุทธ์ ต.บางกระสั้น อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา เบอร์ติดต่อ: 035-258-666 บุคคลติดต่อ: คุณชัชวาล สมานสุข คุณกฤดา เชาว์วัฒนาพานิช สถาบันที่รับผิดชอบ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ บริษัท เอ็นโอเค พรีซิชั่น คอมโพเนนท์ (ประเทศไทย) จำกัด
กระบวนการผลิต เครื่องฉีดพลาสติก
กระบวนการผลิต Clean Room C/R Class 10K C/R Class 1K C/R Class 100 Auto Cleaning M/C LPC, Manual Cleaning M/C Inspection Assembly C/R Class 100 C/R Class 1K C/R Class 10K & Packing Clean Room
ผลิตภัณฑ์ Latch
ผลิตภัณฑ์ Ramp
ผลิตภัณฑ์ Crash Stop
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ นโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงาน บริษัท เอ็นโอเค พรีซิชั่น คอมโพเนนท์ (ประเทศไทย) จำกัด จะส่งเสริมและผลักดันให้มีการดำเนินกิจกรรม ด้านการอนุรักษ์พลังงานและทรัพยากรต่างๆ ในทุกกระบวนการทำงาน เพื่อให้มีการใช้งานอย่างมีประโยชน์ คุ้มค่า และมีประสิทธิภาพสูงสุด มุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามข้อกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และกิจกรรมต่างๆ ด้านการอนุรักษ์พลังงานของทางราชการอย่างเคร่งครัด จะดำเนินการอบรมให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริม และสร้างจิตสำนึก ให้แก่พนักงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง พร้อมให้ความร่วมมือ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ กิจกรรมต่างๆ ด้านการอนุรักษ์พลังงานต่อองค์กร หน่วยงานรัฐบาล และสาธารณชนทั่วไป หมายเหตุ ทรัพยากร หมายถึง น้ำ กระดาษ วัตถุดิบ อุปกรณ์ และเครื่องมือ เป็นต้น
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ ทีมงานอนุรักษ์พลังงาน ประธาน นาย สุรพงษ์ ศุภจรรยา กรรมการฝ่ายบริหาร นาย ปรีดา ศรัณย์ชล ผจก.ฝ่ายทรัพยากรบุคคล นาย อนันต์ วุฒิอภิญญา ผจก.ฝ่ายวิศวกรรม นาย สุวรรณ ตันติเจริญการ ผจก.ฝ่ายผลิต นาย นิพิฐพนธ์ ชื่นประดิษฐ์ ผจก.ฝ่ายซ่อมบำรุง นาย ปรีชา มงคลสวัสดิ์ ผจก.ฝ่ายประกันคุณภาพ นาย อนุชา งามมณีอุดม ผจก.ฝ่ายบัญชีและการเงิน นาย จิตติ บุญยัง ผจก.ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ นาย สุขสันต์ ประสานเนตร รอง ผจก.ฝ่ายการตลาด นาย กมลพงศ์ วรสติบัณฑิต ผจก.ฝ่ายควบคุมการผลิต
ทีมงานอนุรักษ์พลังงาน ประธาน นาย สุรพงษ์ ศุภจรรยา กรรมการฝ่ายปฏิบัติการ นาย สุวิทย์ มงคลวณิชยา ผจก.แผนกทรัพยากรบุคคล นาย นเรศร์ ยิ่งยง วิศวกร นาย วีรวุฒิ ไทยวัฒน์ รอง ผจก.ฝ่ายการตลาด นาย สมชาย อธิคมปัญญาวงศ์ ผจก.ฝ่ายควบคุมการผลิต นาย มนัส เกตุวงษ์ หัวหน้างานฝ่ายผลิต นาย ชัชวาล สมานสุข ผู้ช่วย ผจก.ฝ่ายซ่อมบำรุง นาย กฤดา เชาว์วัฒนาพานิช วิศวกรฝ่ายซ่อมบำรุง นาย พิเชษฐ์ จันทราธรกุล วิศวกรอาวุโสฝ่ายประกันคุณภาพ นาย เกรียงไกร หงษ์หยก พนักงานอาวุโสส่วนคลังสินค้า นางสาว ชิสา วงศ์จันทา พนักงานส่วนส่งเสริมการลงทุน นางสาว บุปผา ปันเงิน โปรแกรมเมอร์ นางสาว กรรณิการ์ สวนนุช พนักงานส่วนบริการลูกค้า นายพีระพงษ์ ตั้งวันเจริญ พนักงานส่วนวางแผนการผลิต
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ อัตราภาษีของสถานประกอบการ
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ สถานภาพและปัญหาการใช้พลังงาน ผู้บริหารให้ความสำคัญในเรื่องการอนุรักษ์พลังงานเป็นอย่างมากและประกาศนโยบายที่ชัดเจน สถานประกอบการพยายามรักษาระดับการใช้พลังงานให้อยู่ในระดับต่ำสุด เมื่อเทียบกับผลผลิตซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด เนื่องจากมาตรการต่างๆ ที่บริษัทดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง . . .
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ ผลงาน 1. มาตรการควบคุมการทำงานโดยใช้ Timer เช่น - Timer ของ Air Conditioning ที่ Canteen - Timer ของ MDB - Timer ของ AHU G-12 - Timer ของ Office ชั้นบน - Timer ของ Pantry ชั้นล่าง - Timer ของ TV ที่ Canteen - Timer ของ Air Curtain 2. มาตรการการควบคุมการทำงานของ Compressor ในระบบปรับอากาศ . . .
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ ข้อมูลการใช้พลังงานย้อนหลัง
มาตรการที่สมัครเข้าร่วมโครงการ มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO มาตรการหุ้มฉนวนที่เครื่องฉีดพลาสติก มาตรการติดตั้งปล่องระบายความร้อนจาก Condenser
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ แผนการดำเนินงานเพื่อให้มาตรการเป็นจริง
การเตรียมความพร้อมของสถานประกอบการ แผนการดำเนินงานเพื่อให้มาตรการเป็นจริง
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO การปรับปรุง: โรงงานจะทำการติดตั้ง VSD เพื่อลดความเร็วรอบในการทำงานของมอเตอร์ปั๊มน้ำ RO และเปิดวาล์วสุด RO เพื่อลดแรงเสียดทานในท่อโดยการเปิดวาล์วสุด โดยยังคงให้ Flow ของน้ำอยู่ในช่วงใช้งาน
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO การตรวจวัด ตรวจวัดสภาพการหรี่วาล์วน้ำ การตรวจวัดและบันทึกกำลังไฟฟ้าที่ใช้ของมอเตอร์ โดยใช้อุปกรณ์ Power Recorder ทั้งก่อนและหลังการปรับปรุง บันทึกอัตราการไหลของน้ำที่ผ่านปั๊มน้ำ RO เก็บรวบรวมปริมาณน้ำที่ไหลผ่านปั๊มตลอดปี 2548
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO ผลการตรวจวัด Product Flow Meter Brine Flow Meter
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO ผลการตรวจวัด การวัดกำลังไฟฟ้า เครื่องวัดกำลังไฟฟ้าแบบบันทึกค่าได้
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO ผลการตรวจวัด
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO ผลการตรวจวัด
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO ผลการตรวจวัด
สรุปผลการตรวจวัดก่อนปรับปรุง มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO สรุปผลการตรวจวัดก่อนปรับปรุง อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยต่อน้ำที่สูบได้ก่อนปรับปรุงเท่ากับ 1.243 kWh ต่อลบ.ม.ของน้ำ โดยมีค่าอัตราการไหลของน้ำเฉลี่ย 5,873 ลิตรต่อชั่วโมง ปริมาณน้ำที่ไหลผ่านปั๊มในปี พ.ศ. 2548 เท่ากับ 42,924 ลูกบาศก์เมตร
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO ผลการตรวจวัดหลังปรับปรุง วาล์วเปิด 100% VSD พร้อมตู้จ่ายไฟฟ้า
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO ผลการตรวจวัด
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO ผลการตรวจวัดหลังปรับปรุง
ผลการตรวจวัดหลังปรับปรุง มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO ผลการตรวจวัดหลังปรับปรุง
สรุปผลการตรวจวัดหลังปรับปรุง มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO สรุปผลการตรวจวัดหลังปรับปรุง อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยต่อน้ำที่สูบได้หลังปรับปรุงเท่ากับ 1.017 kWh ต่อลบ.ม.ของน้ำ โดยมีค่าอัตราการไหลของน้ำเฉลี่ย 5,990 ลิตรต่อชั่วโมง
มาตรการใช้ VSD ที่ปั๊มน้ำระบบ RO การประเมินผลประหยัด ผลประหยัดพลังงานไฟฟ้าต่อปี (กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อปี) = [ อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยต่อน้ำที่สูบได้ก่อนปรับปรุง (กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อลูกบาศก์เมตร) - อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยต่อน้ำที่สูบได้หลังปรับปรุง (กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อลูกบาศก์เมตร) ] x ปริมาณน้ำที่ไหลผ่านปั๊มในปี พ.ศ. 2548 (ลูกบาศก์เมตร) ผลประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้าต่อปี (บาทต่อปี) = ผลประหยัดพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์ชั่วโมง) x ราคาค่าไฟฟ้า (บาทต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง)
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO การวิเคราะห์วงเงินสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริง
มาตรการใช้ VSD ที่มอเตอร์ปั๊มน้ำ RO การวิเคราะห์วงเงินสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริง อัตราภาษีของสถานประกอบการ ร้อยละ 30 รอบบัญชีงบประมาณ (รอบปีภาษี) 1 มกราคม 2549 – 31 ธันวาคม 2549 วันที่สมัครเข้าร่วมโครงการ 31 ตุลาคม 2548 ราคาค่าไฟฟ้า ณ วันที่สมัครเข้าร่วม 2.484 บาท/kWh วันเริ่มใช้งานระบบหลังการปรับปรุง 29 มกราคม 2549 ระยะเวลาคิดผลประหยัด 337 วัน วงเงินภาษีสนับสนุนที่ได้รับอนุมัติ 232,066.50 บาท วงเงินภาษีสนับสนุนที่ได้รับการสนับสนุน 6,674.49 บาท
คำถามและข้อเสนอแนะ