ดร. พงษ์เทพ สันติกุล คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถานการณ์สังคมไทย ดร. พงษ์เทพ สันติกุล คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความเหลื่อมล้ำยังเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทย Human Development Report: UNDP อัตราส่วนระหว่างรายได้เฉลี่ยของครัวเรือนที่มีรายได้มากที่สุดร้อยละ 20 กับครัวเรือนรายได้น้อยที่สุดร้อยละ 20 ไทย = 12-15 เท่า ญี่ปุ่น = 3- 4 เท่า กลุ่มสแกนดิเนเวียน = 3- 4 เท่า ยุโรปและอเมริการเหนือ = 5- 8 เท่า ประเทสในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ = 9-11 เท่า
ความเหลื่อมล้ำยังเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2549 ความเหลื่อมล้ำในการถือครองทรัพย์สิน ครัวเรือนที่มีรายได้สูงที่สุดร้อยละ 20 ถือครองทรัพย์สินร้อยละ 69 ครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำสุดร้อยละ 20 ถือครองทรัพย์สินร้อยละ 1
ความเหลื่อมล้ำยังเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทย ดวงมณี เลาวกุล ความเหลื่อมล้ำในการถือครองที่ดิน ที่ดินใน 8 จังหวัด (กทม. นครนายก นนทบุรี ปทุมธานี ภูเก็ต ระนอง สมุทรปราการ อ่างทอง) ร้อยละ 8 ของที่ดินที่สามารถถือครองได้ ครอบครองโดยผู้ถือครองที่ดินมากที่สุด 50 อันดับแรก เกษตรกรและคนยากจนขาดที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย
ความเหลื่อมล้ำยังเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2549 ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา หัวหน้าครัวเรือนที่มีรายได้สูงที่สุดร้อยละ 20 มีการศึกษาระดับ ป.ตรี ร้อยละ 16.2 หัวหน้าครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำสุดร้อยละ 20 มีการศึกษาระดับ ป.ตรี ร้อยละ 1.52
ความเหลื่อมล้ำยังเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทย วิโรจน์ ณ ระนอง และคณะ 2553 การได้รับประโยชน์จากงบประมาณการศึกษาของรัฐ ครัวเรือนที่มีรายได้สูงที่สุดร้อยละ 20 ได้ประโยชน์จากงบประมาณการศึกษาร้อยละ 29.1 ครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำสุดร้อยละ 20 ได้ประโยชน์จากงบประมาณการศึกษาร้อยละ 12.0
ความเหลื่อมล้ำยังเป็นปัญหาสำคัญของสังคมไทย วิโรจน์ ณ ระนอง และคณะ 2553 การได้รับประโยชน์จากงบประมาณสาธารณสุขของรัฐ ครัวเรือนที่มีรายได้สูงที่สุดร้อยละ 20 ได้ประโยชน์จากงบประมาณสาธารณสุขร้อยละ 28.8 ครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำสุดร้อยละ 20 ได้ประโยชน์จากงบประมาณสาธารณสุขร้อยละ 16.1 ข้าราชการเป็นกลุ่มที่ได้รับสิทธิสวัสดิการสูงสุด คนยากจนไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์
ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงสวัสดิการ คนรายได้ต่ำจะประสบปัญหาการเข้าถึงและใช้บริการสวัสดิการของรัฐ นักศึกษามหาวิทยาลัยรัฐส่วนใหญ่เป็นคนชั้นกลางขึ้นไป ข้าราชการได้รับสวัสดิการรักษาพยาบาลคุณภาพสูงกว่าคนยากจน
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 2554 สังคมสวัสดิการ = สังคมที่ครอบครัว ชุมชน ธุรกิจเอกชน และรัฐ ต่างมีส่วนร่วมในการแบกรับภาระด้านสวัสดิการ ไม่ใช่ “รัฐสวัสดิการ”