(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖) แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ประเทศไทย เพื่อแม่และเด็กมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ แม่และเด็กมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น * สนับสนุนให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพแม่ และเด็ก KPI :ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยแม่ และเด็กทีดีขึ้น ประชาชน ชุมชนมีแผนงานโครงการนวตกรรม  พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนด้านการ ทำแผนชุมชน KPI :ชุมชนมีแผนงาน/โครงการ แม่และเด็กที่สอดคล้องกับปัญหา ท้องถิ่น ชุมชนมีศักยภาพ  พัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน KPI :ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังปัญหาและพฤติกรรมสุขภาพแม่และเด็ก (๑๕) (๑๓) (๑๔) อปท.,มีส่วนร่วมและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนการจัดทำแผนงาน/โครงการโดยใช้ งบฯท้องถิ่น KPI :มีแผนงานโครงการอนามัยแม่และ เด็กที่สอดคล้องกับปัญหาท้องถิ่น (๑๒) สื่อมวลชนมีส่วนร่วม  สนับสนุนการสื่อสารด้าน ความเสี่ยงสุขภาพอนามัย แม่และเด็ก KPI :มีการสื่อสารประสัมพันธ์ ความเสี่ยงสุขภาพด้านอนามัยแม่ และเด็กอย่างต่อเนื่อง ภาคี เครือข่าย แกนนำ/ชุมชนมีส่วนร่วมและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง  สร้างค่านิยมร่วม KPI :มีค่านิยมร่วมกันของชุมชนเพื่อส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก (๑๐) รัฐ เอกชน NGO มีส่วนร่วม  สนับสนุนการใช้มาตรฐาน/รูปแบบมาตรฐานโรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว KPI :ภาคีรัฐและเอกชนนำมาตรฐาน/รูปแบบใช้ในการ ดำเนินงาน (๑๑) (๙) มีนวัตกรรม/รูปแบบ/มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กที่เหมาะสม  ส่งเสริมการสร้างและใช้นวตกรรม/รูปแบบ มาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก KPI :ภาคีภาครัฐและเอกชนมีการใช้นวตกรรม รุปแบบมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง มีระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ สร้างกระแสสังคม/รณรงค์ อย่างต่อเนื่อง KPI :หน่วยงาน/ภาคีมีการ นำเสนอข่าวสารอย่างต่อเนื่อง มีระบบการจัดการที่ดี  สร้างระบบติดตามประเมินผล KPI :หน่วยงานมีระบบการ ติดตามประเมินผลทีมี ประสิทธิภาพ กระบวน การ (๗) (๖) (๘) มีระบบการสร้างความสัมพันธ์ทีดี  พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย KPI : ภาคีเครือข่ายมีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานตาม เกณฑ์ (๕) (๒) องค์กรมีผู้นำที่มีศักยภาพและทำงานเป็นทีม พัฒนาให้มีภาวะผู้นำและทำงานเป็นทีม KPI : มีภาวการณ์เป็นผู้นำและทำงานเป็นทีม ตามเกณฑ์ (๔) (๓) มีระบบสารสนเทศที่ครบถ้วนถูกต้องทันสมัย  พัฒนาระบบสารสนเทศให้มี ประสิทธิภาพ KPI : มีระบบฐานข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย รากฐาน มีบรรยากาศและแรงจูงใจการปฏิบัติงานที่ดี สร้างวัฒนธรรมและการปฏิบัติตาม วัฒนธรรมขององค์กร KPI :มีการปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กร บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะที่เหมาะสม  พัฒนาบุคลากรเสริมสร้างและสมรรถนะ บุคลากร KPI :บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะตามเกณฑ์ (๑)

แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ.2554 เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีความตระหนัก ความรู้ และทักษะชีวิตด้านส่งเสริมสุขภาพ เป็นบุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ KPI:เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ 15 14 13 ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จัดตั้งแกนนำ/เครือข่ายครอบครัว KPI:แกนนำ/เครือข่ายครอบครัวสามารถทำบทบาทการเฝ้าระวังพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมในครอบครัวและชุมชน เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีศักยภาพ จัดตั้งชมรม/แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์เรียนรู้ KPI:แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ระดับประชาชน (Valuation) ชุมชนมีแผนงาน/โครงการและนวัตกรรม ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ KPI:มีแผนชุมชน/นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 12 9 สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ สร้างองค์กรต้นแบบ KPI: มีโรงเรียนต้นแบบ 11 10 อปท.มีส่วนร่วมและสนับสนุน มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ KPI:อปท.บรรจุแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่น ภาครัฐ/เอกชนสนับสนุน บูรณาการงานร่วมกัน (Stakeholder) ระดับภาคี สธ.สนับสนุนวิชาการและบริการสุขภาพ มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ KPI: มีสถานบริการที่ให้บริการที่เป็นมิตรแก่เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 8 มีระบบกำกับติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตาม 7 มีการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม KPI:ภาคีเครือข่ายสามารถจัดทำกิจกรรม/โครงการฯ 6 ระดับกระบวนการ (Management) ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล KPI:มีสื่อความรู้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ 5 มีการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ มีการจัดการความรู้ KPI:มีองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ 4 สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง KPI: มีแผนพัฒนาบุคลากรตามประเด็นสมรรถนะที่เป็นปัญหาต่อการปฏิบัติงาน 2 ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 1 มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพที่ทันสมัย KPI: มีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง มีวัฒนธรรมองค์กที่เอื้ออำนวย สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน KPI: มีสถานที่ทำงานตามเกณฑ์มาตรฐาน 3 2

16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี 2553-2554 ของกรมอนามัย KRI 1.ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. 2.ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. 3.เด็กอายุ 6 – 14 ปี มีน้ำหนักเทียบกับส่วนสูงเป็นปกติ 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ ด้วยตนเอง ระดับประชาชน (Valuation) 14. ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลักการ 3 อ. 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง S : พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังตนเอง S : สร้างแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุงในองค์กร/ชุมชน 2.8 แสนคน KPI : ประชาชนสามารถประเมินตนเองและปฏิบัติตนด้วย 3 อ. 150 องค์กร S :สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 70% KPI : แกนนำสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ KPI : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถใช้แหล่งเรียนรู้ 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง S : ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร./อปท. ให้เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง KPI : องค์กรสามารถบริหารจัดการเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร./อปท. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง 11. องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนมีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ S : พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาด ผู้ประกอบการ ในการผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพด้านอาหารและออกกำลังกาย KPI : ชุมชนองค์กรผู้ผลิต ผู้ค้าสามารถผลิตเทคโนโลยีนวัตกรรมคนไทยไร้พุง 150 องค์กร S : สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านคนไทยไร้พุง 294 ร้าน/21 ราย/7แห่ง/ 1 รูปแบบ KPI : องค์กรสามารถปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ (Stakeholder) ระดับภาคี 150 แห่ง 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) S : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง DPAC 42 แห่ง S : ผลักดันสนับสนุนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ KPI :สถานบริการสามารถบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน KPI : - ภาคีสามารถนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ - ภาคีสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ 150 แห่ง 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย 7. มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย S : พัฒนาระบบบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถบริหารโครงการและประสานงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 150 องค์กร S : สนับสนุนให้มีการประสานงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน ระดับกระบวนการ (Management) S : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลสารสนเทศ/การจัดการความรู้ที่ทันสมัย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถใช้และเชื่อมต่อระบบ – เฝ้าระวัง – สารสนเทศ – องค์ความรู้ KPI : ภาคีสื่อมวลชนสามารถสื่อสารสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 ระบบ 5 ช่องทาง 4. มีแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ S : จัดทำแผนกับภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม 90% KPI : ภาคีมีส่วนร่วมในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 1.วัฒนธรรมที่ดี S : พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัย เป็นจริง S :ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนาธรรมอย่างต่อเนื่อง 3 3 KPI : เครือข่ายเชื่อมต่อระบบและใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน S : พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 240 องค์กร KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HAT 95% KPI : บุคลากรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม Competency 90% 3 3 3

แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ภายในปี พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ภายในปี พ.ศ. 2552 – 2554 กรมอนามัย GOAL : “ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ” ผู้สูงอายุตระหนักรู้คุณค่าของตนเอง สนับสนุนการพึ่งตนเองของผู้สูงอายุ* KPI : ผู้สูงอายุสามารถพึ่งตนเองได้ตามเกณฑ์ 14 ระดับประชาชน (Valuation) มีแผนชุมชนพึ่งตนเองได้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ การมีส่วนร่วม KPI : ชุมชนสามารถทำแผนชุมชนได้สอดคล้องตามบริบทของพื้นที่ 12 ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุ การดูแลตนเอง KPI : ชุมชนสามารถมีระบบในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม 13 ชมรมผู้สูงอายุมีศักยภาพดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เสริมพลัง Empowerment KPI :ชมรมผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (75%) 11 (Stakeholder) ระดับภาคี ภาคีอื่นๆสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประสานความร่วมมือ KPI : ภาคีเครือข่าย(สถาบันทางศาสนา)มีระบบบริการการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ (1อำเภอ1 วัด ส่งเสริมสุขภาพ) 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เสนอแนะเชิงนโยบาย(Policy Advocate) KPI : องค์กรปกครองท้องถิ่นมีแผนงานการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น ภาคีด้านสาธารณสุข มีศักยภาพการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาระบบบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ KPI : ภาคีเครือข่ายด้านสาธารณสุขนำรูปแบบระบบบริการการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุไปพัฒนาและปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ 9 8 มีการบริหารจัดการเครือข่ายที่เข้มแข็ง บริหารความสัมพันธ์ KPI : ความพึงพอใจของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม (80%) 7 ระดับกระบวนการ(Management) พัฒนาระบบสารสนเทศด้านส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาสื่อบุคคล KPI : มีฐานข้อมูลที่ได้รับการพัฒนา (2 ฐาน ทันต + สำนัก) พัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ • การจัดการความรู้ KPI : นำนวัตกรรมไปใช้แลกเปลี่ยนในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (ตำบลต้นแบบ12 ตำบล) 5 พัฒนาการบริหารจัดการงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาแผนงาน กำกับติดตามและประเมินผล KPI : มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์(100%) 6 4 ระบบฐานข้อมูล มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูล/สารสนเทศ KPI : มีฐานข้อมูลที่ทันสมัยและสารสนเทศที่ทันสมัยและสามารถเข้าถึงได้ (2 ฐานข้อมูล) สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ • พัฒนาความเป็นมืออาชีพ KPI : บุคลากรในองค์กรมีสมรรถนะและทักษะ ด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น (60 คน) 2 1 องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการ ทำงานแบบเชื่อมโยง •ส่งเสริมสนับสนุนการทำงานตามค่านิยม KPI : บุคลากรมีการทำงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ แบบเชื่อมโยงเป็นทีมบูรณาการ 3 ( Learning /Development) ระดับพื้นฐาน

ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2553-2556 ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 1. ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากปัจจัยคุกคามด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และได้รับบริการที่มีคุณภาพจากภาครัฐ KRI : ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพและบริการที่มีคุณภาพดี 2. ประชาชนมีส่วนร่วมและสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับครัวเรือนและ ชุมชนได้ ตลอดจนมีพฤติกรรมอนามัยที่ดี KPI : ครัวเรือนสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ ประชาชน 7. สถานประกอบกิจการและสถานบริการปฏิบัติตามมาตรฐาน และกฎหมาย S ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีความรู้ และปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ และมีความ สามารถพัฒนา ยกระดับมาตรฐานตามเกณฑ์ KPI : สถานประกอบกิจการผ่านการรับรองมาตรฐาน 3. อปท. มีความสามารถในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ S เสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการอน ามัยสิ่งแวดล้อมและประเมิน ผลกระทบต่อ สุขภาพให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง KPI : อปท. มีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี 5. ภาคีภาครัฐ ธุรกิจ เอกชน และประชาสังคมมีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการและการดำเนินงาน S ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกำหนด และผลักดันนโยบาย และบูรณาการแผนงาน โครงการด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อม KPI : จำนวนของภาคีต่าง ๆที่มีส่วนร่วมในการจัดการและดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ภาคีเครือข่าย 4. สสจ. และหน่วยงานในสังกัดมีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงาน S พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ KPI : เจ้าหน้าที่ สสจ.75 จังหวัด สามารถเป็นวิทยากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ 6. สื่อมวลชนสามารถสื่อสารข้อมูล ข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ S สนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลและข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ KPI : มีแผนการประชาสัมพันธ์ด้านอนามัยสิ่งแวดงานล้อม 10. มีระบบการพัฒนากฎหมาย S สนับสนุนการออกกฎกระทรวง ประกาศกระทรวง และ คำแนะนำของคกก.สธ. KPI : กฎกระทรวง ประกาศกระทรวงและคำแนะนำของ คกก.สธ. 11 .มีระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพ S ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวัง และเตือนภัยที่มี ประสิทธิภาพ KPI: ระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 13. มีระบบการสร้างความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย และ การสื่อสารสาธารณะ S พัฒนาระบบ CRM KPI: ภาคีเครือข่ายมีความรู้ และสามารถสนับสนุนการดำเนินงานได้ กระบวนการ 9.มีระบบพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม S1 ส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัย พัฒนารูปแบบ แนวทาง หลักสูตรและมาตรฐาน KPI: จำนวนผลงานวิจัย รูปแบบ แนวทางหลักสูตรมาตรฐาน 12. มีระบบประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ S สนับสนุนการใช้ข้อมูลด้านผลกระทบต่อสุขภาพในการกำหนดนโยบายและจัดทำโครงการต่างๆ KPI: ระบบประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 8. มีระบบพัฒนาบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและประเมินผล กระทบต่อสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ S พัฒนาระบบการพัฒนาบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ KPI : บุคลากร อปท.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีศักยภาพ 15. ศูนย์ห้อง ปฏิบัติการมีศักยภาพและสามารถรองรับการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อมได้ S พัฒนาศักยภาพด้านการตรวจวิเคราะห์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม KPI : ความพร้อมในการตรวจวิเคราะห์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ S พัฒนาระบบนิเทศ ติดตามและระบบประเมินผล KPI: การนิเทศ ติดตามและประเมินผลเป็นไปตามแผน 16. บุคลากรมีสมรรถนะด้านวิชาการและ การจัดการ S ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้เป็นวิทยากรมืออาชีพและที่ปรึกษาด้านวิชาการ KPI : บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะตามเกณฑ์ 18. องค์กรมีวัฒนธรรมที่ดี S สนับสนุนการพัฒนาองค์กรตามระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ตามเกณฑ์ PMQA KPI: องค์กรดำเนินงานผ่านเกณฑ์ PMQA 17. ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศมีความถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงง่าย S พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ KPI: ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศมีความถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย พื้นฐาน 19. อัตรากำลังเหมาะสม S สนับสนุนอัตรากำลังให้มีความเหมาะสม KPI: มีอัตรากำลังที่เหมาะสมกับการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ 5 5