การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
มาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินการระบาดคอตีบในสถานการณ์ปัจจุบัน
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
สวัสดีครับ.
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ   นพ. ศักดิ์ชัย ไชยมหาพฤกษ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก

ระบบ ...ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของไทย WHO, FAO, OIE, and other international partners ASEAN, APEC, ACMECS and other Regional forums ระบบ ...ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของไทย ระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของไทยในปัจจุบัน กรมควบคุมโรคและหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงสาธารณสุขจะเป็นหลักในการพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์ สนับสนุนคู่มือ แนวทาง วิชาการและการปฏิบัติการ ทำการติดตามประเมินผล รวมทั้งดูแลกฎหมาย กฎข้อบังคับที่เกี่ยวข้องต่างๆ สำหรับหน่วยงานในระดับถัดไป ได้แก่ ระดับเขต ซึ่งมีได้ทั้งสำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เขต (ร่วมเฝ้าระวังโรคทางห้องปฏิบัติการ) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รพ. ซึ่งจะทำหน้าที่ปฏิบัติการ สนับสนุนวิชาการ ติดตามประเมินผล ด้านการป้องกันควบคุมโรค ลำดับต่อไป เป็นหน่วยงานในระดับอำเภอ ซึ่งมีสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และรพ.อำเภอ รวมไปถึงรพ.สต. ที่เป็นหน่วยปฏิบัติการร่วมเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในท้องถิ่น นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีรากฐานที่มั่นคงในการป้องกันควบคุมโรค นั่นคือ ชุมชน ผู้นำชุมชน อสม.และประชาชน และหากมองในมิติของการปกครอง เราก็มีองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบจ. อบต. เทศบาล เข้ามามีอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติการ และสนับสนุนการป้องกันควบคุมโรคในท้องถิ่น รวมทั้งออกข้อบังคับ และกฎหมายท้องถิ่นนอกจากนี้ ในระบบยังมีภาคส่วนต่างๆ เช่น ภาคเอกชน NGOs และพันธมิตร อื่นๆ ตลอดจนความร่วมมือกับต่างประเทศ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบอีกด้วย กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แนวทาง มาตรฐาน สนับสนุนวิชาการ ปฏิบัติการ กำกับ ประเมินผล บังคับใช้กฎหมาย สธ กรม สสจ รพศ สสอ รพช รพสต สคร ภาคส่วน อื่นๆ เช่น ธุรกิจ เอกชน รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย NGOs อปท สนับสนุนวิชาการ ปฏิบัติการ กำกับ ประเมินผล ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรค สนับสนุนปฏิบัติการ ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรค ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น กลุ่มกิจกรรมในชุมชน ผู้นำชุมชน อาสาสมัคร ชุมชน กิจกรรมและพฤติกรรม ป้องกัน ควบคุมโรค ในชุมชน 2

วิสัยทัศน์&ยุทธศาสตร์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก

Office of Disease Prevention and Control 9th Phitsanulok Vision Office of Disease Prevention and Control 9th Phitsanulok To be the leading organizations that are standard in the surveillance, prevention and control of diseases and health hazards to support network and the public

Mission Research, development, transfer of knowledge and technology of disease prevention and control met with international standard Cordinate and cooperate with local network for surveilance, prevention and control of disease and health hazards. Promote the transfer of knowledge to network and the public. Prepare to handle threats and health hazards. System development and evaluation of network operations for surveillance, prevention and control of diseases and health hazards.

พันธกิจ 1.ส่งเสริม สนับสนุน ถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้ ให้เครือข่ายและประชาชน 2.ประสานงานความร่วมมือกับเครือข่ายภายในประเทศเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3.วิจัย พัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพให้ได้ตามมาตรฐานสากล 4.เตรียมความพร้อมในการจัดการภาวะคุกคามและภัยสุขภาพ 5.พัฒนาและประเมินศักยภาพระบบ กลไกของเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

ยุทธศาสตร์ ระบาดวิทยา การติดตามประเมินผล ศึกษา วิจัยถ่ายทอด เทคโนโลยี่ สร้างสนับสนุนเครือข่าย ปฏิบัติการและตอบโต้ สื่อสารความเสี่ยง สนับสนุนด้านลอจิสติค และ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ การทำงานในพื้นที่ เน้นการทำงานในพื้นที่

กลุ่มแผนงานและประเมินผล กลุ่มระบาดวิทยา กลุ่มพัฒนาองค์กร กลุ่มแผนงานและประเมินผล ผู้อำนวยการสำนักงาน กลุ่มระบาดวิทยา กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มสื่อสารความเสี่ยง และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์ชันสูตรโรค ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 9.1 พิษณุโลก ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 9.2 เพชรบูรณ์ ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 9.3 แม่สอด ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ อ.แม่สอด จ.ตาก รองผู้อำนวยการ ฯ ศูนย์โลจิสติก กลุ่มปฏิบัติการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ศูนย์บริการป้องกันและ ควบคุมโรค กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย กลุ่มพัฒนาวิชาการ นิคมโรคเรื้อนบ้านกร่าง จ.พิษณุโลก ISO 9001:2008 Certified

ชี้เป้า

Public health informatics and information system Surveillance Passive รายงาน 506 รายงาน 506/1 Injury surveillance NCD Active Event based รายงานเฉพาะโรค TB cohort analysis – Smart TB or TB-CM NAP program สปสช STI รายงานตามตัวชี้วัดการตรวจราชการ แนวโน้มการเก็บข้อมูลแบบ vertical program จะหมดไป ทำอย่างไรจะดึงข้อมูลจาก 43 แฟ้มได้

ร้อยละความครอบคลุมของเด็กจำแนก ตามกลุ่มอายุได้รับวัคซีนแต่ละประเภท ตัวชี้วัด ร้อยละความครอบคลุมของเด็กจำแนก ตามกลุ่มอายุได้รับวัคซีนแต่ละประเภท ตามเกณฑ์ที่กำหนด ข้อมูลที่ต้องการ - ประชากรเด็กเป้าหมาย จำแนกตามกลุ่มอายุ สอดคล้องกับการประเมินผลงานการได้รับวัคซีนแต่ละประเภท - จำนวนเด็กในพื้นที่ จำแนกตามกลุ่มที่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ (ตามช่วงเวลา / งวดรายงาน) ที่ใช้ประเมิน

ร้อยละความครอบคลุมของประชาชน จำแนกตามกลุ่ม ตัวชี้วัด ร้อยละความครอบคลุมของประชาชน จำแนกตามกลุ่ม อายุ - อายุ 15-34 ปี - อายุ 35-59 ปี และ - อายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 90

ตัวชี้วัด ผู้ป่วยเบาหวานที่คุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ข้อมูลที่ต้องการ - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และได้รับ การติดตามในคลินิกเบาหวาน - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1C - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1C น้อยกว่า 7 - จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับความดันโลหิต 3 ครั้งสุดท้ายติดต่อกัน <130/80 มม.ปรอท)

ฐานข้อมููล 43 แฟ้ม คำสั่ง SQL 43 แฟ้ม Vaccine MMR (061) SELECT person.HOSPCODE, chospital.hosname, count(DISTINCT epi.HOSPCODE,epi.PID) as a, count(distinct person.HOSPCODE,person.PID) as b FROM person LEFT JOIN epi ON epi.HOSPCODE = person.HOSPCODE AND epi.PID = person.PID AND epi.VACCINETYPE = '061' INNER JOIN chospital ON chospital.hoscode = person.HOSPCODE WHERE person.sex in ('1','2') AND person.TYPEAREA IN ('1', '3') AND person.NATION = '099' AND person.DISCHARGE = '9' AND person.BIRTH BETWEEN '20111001' AND '20120930' GROUP BY person.HOSPCODE  

Public health informatics

Public Heath Informatics Computer science Information science Behavioral science Organization science Public health Management science

IT system data structure Multi-disciplinary IT system data structure SQL language M&E indicator

กลยุทธ์ นโยบายและตัดสินใจ 4. สารสนเทศ สำหรับวางแผน กลยุทธ์ นโยบายและตัดสินใจ 3. สารสนเทศสำหรับวางแผนกลยุทธ์วิธีและการตัดสินใจ 2. สารสนเทศสำหรับวางแผนการปฏิบัติงาน ตัดสินใจ และควบคุม 1. สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลรายการ

Database competency (21, 43 files) Data accessibility Gap for development IT Competency Database competency (21, 43 files) Data accessibility Data management skill Analytical skill IT man know public health issues Public health man know IT issue Confidentiality VS utilization

คุณสมบัติของสารสนเทศ ที่ดีควรมีคุณสมบัติดังน้ี มีความถูกต้องเชื่อถือได้(Accuracy) สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) ความสมบูรณ์ (Completeness) ทันต่อการใชงานหรือทันเวลา(Timeliness) ความกระทัดรัด(Conciseness) ตรงประเด็นหรือตรงตามความต้องการ (Relevance)

Planning, monitoring and evaluation Think globally , act locally Horizontal integration Role of regulator and technical supporter Formative and summative assessment Empowerment M&E Supervision/ Audit / Accredit

Networking

Risk communication VS Social Marketing

การบริหารจัดการ และ พัฒนาองค์กร

Total Quality Management & PMQA Better Faster Cheaper Stronger HRD

Silo effect a lack of communication and common goals between departments in an organization. opposite of system thinking in an organization managers serve as information gatekeepers, making timely coordination and communication among departments difficult to achieve external relationships are given insufficient attention seamless interoperability with external parties impractical. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3813367/

Supply chain management (SCM) create value for the end customers as well as the firms in the supply chain network. integrate process activities internally and with other firms in the network. process integration means coordinating and sharing information and resources to jointly manage a process.

ระบบ โรคและภัยสุขภาพที่ท้าทาย

ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ปชก ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ปชก.อายุ 15 - 19 ปี (ไม่เกิน 13) อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 13 ต่อ ปชก.แสนคน) * อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 20 ต่อ ประชากรแสนคน)* ร้อยละของเกษตรกรที่มีผลการตรวจพบว่าเสี่ยงและ ไม่ปลอดภัยต่อสารพิษกำจัดศัตรูพืช (ร้อยละ 32)

ระบบทางสาธารณสุขที่ต้องพัฒนา ระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลข่าวสาร เรื่องโรคสำคัญ สำหรับใช้ในการตัดสินใจ ติดตามประเมินผลหรือ การพยากรณ์ ระบบป้องกันโรค ด้วยวัคซีนที่มีคุณภาพ ครอบคลุม ระบบในการควบคุมโรค โดยอาศัยพื้นฐานทีม SRRT อำเภอ ภายใต้กรอบอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง อย่างยั่งยืน และ District Health System รวมถึงระบบการควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง

(Asian Economic community by 2015) Opportunity and threat AEC (Asian Economic community by 2015) Opportunity and threat

Conclusion Integration Public health informatics M&E HRD PMQA Challenging health issues Thank you