การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
พล.ต.ต.บุญเลิศ ใจประดิษฐ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เปรียบเทียบประมาณการค่าใช้จ่ายตามแผนต่อเดือน กลุ่มที่ 1 รพ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
กีฬาสาธารณสุขสัมพันธ์ “รักเลย รักสุขภาพ” ครั้งที่ 2/58
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สาขาโรคมะเร็ง.
ของส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
การจัดทำฐานข้อมูล อสม.
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
Unity Team (รวมกันเป็นหนึ่งเดียว) การทำงานร่วมกันและดำเนินงาน
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ติดตามความก้าวหน้า LTCLink จังหวัดเลย. แผนการดำเนินงานจังหวัดเลย ปี 57 กิจกรรม ต. ค. 56 พ. ย. 56 ธ. ค. 56 ม. ค. 57 ก. พ. 57 มี. ค. 57 เม. ย. 57 พ. ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) 4/4/2017 12:41 AM การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย 28 มีนาคม 2556 © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.

ตัวชี้วัด DHS จำนวน 2 ข้อ KPI ที่ 1 ขั้นการพัฒนา การทำแบบประเมินตนเอง (self assessment) ของระบบสุขภาพระดับอำเภอตามบันได 5 ขั้น ให้ครอบคลุม หัวข้อย่อย 5 ประเด็น คือ การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ (Unity District Health Team) การทำงานจนเกิดคุณค่าทั้งผู้รับบริการและตัวผู้ให้บริการเอง (Appreciation) การแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร (Rerource sharing and human development) การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน(Community participation) การวัดผล วัดจากความก้าวหน้า โดยเมื่อสิ้นปีงบประมาณมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ขั้น ของเนื้อหา หรืออย่างน้อยระดับ 3 ในแต่ละหัวข้อย่อยขึ้นไป

KPI ที่ 2 การดำเนินงานหนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพ One District One Project  (ODOP) เพื่อแก้ไขปัญหาตามบริบทโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน โดยทีมสุขภาพระดับอำเภอคัดเลือกปัญหาสุขภาพตามกลุ่มวัยหรือเชิงประเด็นอย่างน้อย 1 เรื่อง ร่วมกับทีม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันตามความเหมาะสม เพื่อติดตามความก้าวหน้าและความสำเร็จของโครงการ (ตามบริบทของพื้นที่) โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ต้องทำในรูปแบบของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภออย่างเป็นรูปธรรม เป้าหมายที่ตั้งต้องมีความท้าทายระดับหนึ่ง หากเป็นโครงการที่ทำอยู่แล้วต้องมีการพัฒนาที่ชัดเจนมากขึ้น

สรุปภาพรวมการประเมินตนเองของเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (DHS) การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ การทำงานจนเกิดคุณค่า การแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน ผลการประเมิน (ระดับ) โอกาสพัฒนา (ระดับ) อ.เมือง 4 5 3 อ.นาด้วง 2 อ.เชียงคาน อ.ปากชม 1 อ.ด่านซ้าย อ.นาแห้ว อ.ภูเรือ อ.ท่าลี่ อ.วังสะพุง อ.ภูกระดึง อ.ภูหลวง อ.ผาขาว อ.เอราวัณ อ.หนองหิน

โครงการ ODOP จังหวัดเลย อำเภอ ประเภท ชื่อประเด็น ODOP ที่คาดว่าจะพัฒนาร่วมกันในพื้นที่ เรื้อรัง ผู้พิการ สุขภาพ จิต แม่และเด็ก ควบคุมโรค ผู้สูงอายุ อื่นๆ อ.เมือง   / หมู่บ้านสุขภาพดีวิถีพุทธหมู่บ้าน/ชุมชน อ.นาด้วง การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน อ.เชียงคาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อสม.ลดอ้วนลงพุง อ.ปากชม การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน อ.ด่านซ้าย การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาการเด็กและสมรรถนะทุกด้าน อ.นาแห้ว การพัฒนาระบบการดูแลและสร้างเสริมสุขภาพของชุมชนโดยใช้ภูมิปัญหาท้องถิ่น อ.ภูเรือ การพัฒนาระบบจิตเวชในชุมชน อ.ท่าลี่ การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตั้งแต่สถานบริการสาธารณสุขจนถึงชุมชน อ.วังสะพุง วัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจเจริญพันธุ์ อ.ภูกระดึง การบริหารจัดการระบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในเครือข่ายแบบครบวงจร อ.ภูหลวง การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างมีคุณภาพ อ.ผาขาว การปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรค ตำบลบ้านเพิ่ม อ.เอราวัณ การพัฒนาควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่าย อ.เอราวัณ จังหวัดเลย ปี 2556 อ.หนองหิน การพัฒนาระบบสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส

ติดตามความก้าวหน้า DHS กิจกรรม การดำเนินงาน 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการ DHS ?? 2. การจัดทำโครงการ (ส่งภายใน 15 มีนาคม 56) ยังไม่มีอำเภอเสนอโครงการฯ 3. แผนการใช้งบประมาณ DHS ยังไม่มีอำเภอเสนอแผน