การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) 4/4/2017 12:41 AM การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย 28 มีนาคม 2556 © 2007 Microsoft Corporation. All rights reserved. Microsoft, Windows, Windows Vista and other product names are or may be registered trademarks and/or trademarks in the U.S. and/or other countries. The information herein is for informational purposes only and represents the current view of Microsoft Corporation as of the date of this presentation. Because Microsoft must respond to changing market conditions, it should not be interpreted to be a commitment on the part of Microsoft, and Microsoft cannot guarantee the accuracy of any information provided after the date of this presentation. MICROSOFT MAKES NO WARRANTIES, EXPRESS, IMPLIED OR STATUTORY, AS TO THE INFORMATION IN THIS PRESENTATION.
ตัวชี้วัด DHS จำนวน 2 ข้อ KPI ที่ 1 ขั้นการพัฒนา การทำแบบประเมินตนเอง (self assessment) ของระบบสุขภาพระดับอำเภอตามบันได 5 ขั้น ให้ครอบคลุม หัวข้อย่อย 5 ประเด็น คือ การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ (Unity District Health Team) การทำงานจนเกิดคุณค่าทั้งผู้รับบริการและตัวผู้ให้บริการเอง (Appreciation) การแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร (Rerource sharing and human development) การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน(Community participation) การวัดผล วัดจากความก้าวหน้า โดยเมื่อสิ้นปีงบประมาณมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ขั้น ของเนื้อหา หรืออย่างน้อยระดับ 3 ในแต่ละหัวข้อย่อยขึ้นไป
KPI ที่ 2 การดำเนินงานหนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพ One District One Project (ODOP) เพื่อแก้ไขปัญหาตามบริบทโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน โดยทีมสุขภาพระดับอำเภอคัดเลือกปัญหาสุขภาพตามกลุ่มวัยหรือเชิงประเด็นอย่างน้อย 1 เรื่อง ร่วมกับทีม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันตามความเหมาะสม เพื่อติดตามความก้าวหน้าและความสำเร็จของโครงการ (ตามบริบทของพื้นที่) โครงการแก้ไขปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ต้องทำในรูปแบบของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภออย่างเป็นรูปธรรม เป้าหมายที่ตั้งต้องมีความท้าทายระดับหนึ่ง หากเป็นโครงการที่ทำอยู่แล้วต้องมีการพัฒนาที่ชัดเจนมากขึ้น
สรุปภาพรวมการประเมินตนเองของเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (DHS) การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ การทำงานจนเกิดคุณค่า การแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน ผลการประเมิน (ระดับ) โอกาสพัฒนา (ระดับ) อ.เมือง 4 5 3 อ.นาด้วง 2 อ.เชียงคาน อ.ปากชม 1 อ.ด่านซ้าย อ.นาแห้ว อ.ภูเรือ อ.ท่าลี่ อ.วังสะพุง อ.ภูกระดึง อ.ภูหลวง อ.ผาขาว อ.เอราวัณ อ.หนองหิน
โครงการ ODOP จังหวัดเลย อำเภอ ประเภท ชื่อประเด็น ODOP ที่คาดว่าจะพัฒนาร่วมกันในพื้นที่ เรื้อรัง ผู้พิการ สุขภาพ จิต แม่และเด็ก ควบคุมโรค ผู้สูงอายุ อื่นๆ อ.เมือง / หมู่บ้านสุขภาพดีวิถีพุทธหมู่บ้าน/ชุมชน อ.นาด้วง การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน อ.เชียงคาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อสม.ลดอ้วนลงพุง อ.ปากชม การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน อ.ด่านซ้าย การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาการเด็กและสมรรถนะทุกด้าน อ.นาแห้ว การพัฒนาระบบการดูแลและสร้างเสริมสุขภาพของชุมชนโดยใช้ภูมิปัญหาท้องถิ่น อ.ภูเรือ การพัฒนาระบบจิตเวชในชุมชน อ.ท่าลี่ การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังตั้งแต่สถานบริการสาธารณสุขจนถึงชุมชน อ.วังสะพุง วัยรุ่นยุคใหม่ใส่ใจเจริญพันธุ์ อ.ภูกระดึง การบริหารจัดการระบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในเครือข่ายแบบครบวงจร อ.ภูหลวง การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างมีคุณภาพ อ.ผาขาว การปรับเปลี่ยน ลดเสี่ยง ลดโรค ตำบลบ้านเพิ่ม อ.เอราวัณ การพัฒนาควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่าย อ.เอราวัณ จังหวัดเลย ปี 2556 อ.หนองหิน การพัฒนาระบบสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส
ติดตามความก้าวหน้า DHS กิจกรรม การดำเนินงาน 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการ DHS ?? 2. การจัดทำโครงการ (ส่งภายใน 15 มีนาคม 56) ยังไม่มีอำเภอเสนอโครงการฯ 3. แผนการใช้งบประมาณ DHS ยังไม่มีอำเภอเสนอแผน