โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
การเทียบความทึบแสง (Spectrophotometry)
ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
การทดลอง วัดปริมาตรของน้ำ
เงิน.
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
แนวทางการดำเนินงานตู้ยาในครัวเรือน
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Formulation of herbicides Surfactants
โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU
หอผู้ป่วย PICU ขอเสนอผลงาน ส.6.
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
ทบทวนความรู้ การสอบปฏิบัติการครั้งที่ 1
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
สุขภาพสัตว์และการอนามัย
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
Decision Limit & Detection Capability.
แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย
โครงสร้างต้นทุนการผลิตและราคาขาย ณ โรงงานสุรา (สุรากลั่นชุมชน)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
What is the optimum stocking rate ?
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
การควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้มาลาเรีย
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ : การวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สำนักชั่งตวงวัด กรมการค้าภายใน
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
การบริหารยาที่มี ระยะห่างการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ข้อเสนอแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน P4P
การชั่งและตวง ครูปนัดดา เปียถนอม.
กิจกรรมพื้นฐานทางเคมี
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
การอบแห้งข้าวที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารสกัดจากใบเตยด้วยวิธี ไมโครเวฟ
การเตรียมยาในโรงพยาบาล
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การคำนวณหาค่าคงที่สมดุล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี DRUG SAFETY DAY การบริหารยาคำสั่งสัดส่วนและการคำนวณเบื้องต้น ภญ.วนัสนันท์ วรรณสุพริ้ง ห้องจ่ายยาผู้ป่วยใน 4 โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี

มาตราชั่ง ตวง วัด หน่วยน้ำหนัก หน่วยปริมาตร μg : microgram mg : milligram Gm : gram gr. : grans ml : milliter, cc L : Littre tsp : ช้อนชา tbsp : ช้อนโต๊ะ 1000 μg = 1 mg 1000 mg = 1 Gm 1000 Gm = 1 Kg 1 gr. (grain) = 64.8 mg (60mg) 1000 ml = 1 L 1 tsp (ช้อนชา) = 5 ml 1 tbsp(ช้อนโต๊ะ) = 15 ml

มาตราชั่ง ตวง วัด %w/v %w/w 1. ความเข้มข้นของสาร น้ำหนักปริมาณ สารสำคัญ ที่อยู่ใน ปริมาณสารทั้งหมด คิดเป็น 100 Gm (Gm/Gm) 10% salicylic 100 Gm (10%w/w) หมายถึง มี salicylic 10 Gm อยู่ใน base 90 Gm (รวมปริมาณสารทั้งหมด 100 Gm) %w/v น้ำหนักปริมาณ สารสำคัญ ที่อยู่ใน สารละลายทั้งหมด คิดเป็น 100 ml (Gm/ml) 10%E.KCl (10%w/v) หมายถึง มี KCl 10 Gm ในสารละลายทั้งหมด 100 ml น้ำเกลือ D-10-S หมายถึง มี dextrose 10 Gm ในสารละลายทั้งหมด 100 ml

สารละลาย 2. วิธีการคำนวณความแรงของสารละลาย สารละลาย (solution) หมายถึง ของผสมที่มีลักษณะเป็นเนื้อเดียวกัน ประกอบด้วย ตัวทำละลาย กับ ตัวถูกละลาย 2. วิธีการคำนวณความแรงของสารละลาย 1 สารละลาย A มีปริมาตร 50 ml มีตัวยาอยู่ 10 Gm จะมีความแรงเทาไร วิธีคิด ปริมาตรสาร 50 ml มีตัวยา 10 Gm ถ้า ปริมาตรสาร 100 ml มีตัวยา = 10100 = 20% 50 สารละลาย B มีปริมาตร 100 ml มีตัวยาอยู่ปริมาตร 25 ml จะมีความแรงเทาไร วิธีคิด ปริมาตรสาร 100 ml มีตัวยาปริมาตร 25 Gm ถ้า ปริมาตรสาร 100 ml มีตัวยา = 10025 = 25% 100

สารละลาย 2. วิธีการคำนวณความแรงของสารละลาย 2 สารละลายอัตราส่วน 1:200 เทียบเป็นความแรงของสารละลายจะได้เท่าไร หมายถึง ในสารละลาย 200 ml มีตัวยาสำคัญอยู่ 1 Gm ถ้า ในสารละลาย 100 ml มีตัวยา = 1100 = 0.5% 200

สารละลาย C1V1=C2V2 3. การลดและการเพิ่มความเข้มข้น 3.1 วิธีการคำนวณ โดยใช้สูตร C1V1=C2V2 C1 = ความเข้มข้นของสารละลายชนิดที่ 1 C2 = ความเข้มข้นของสารละลายชนิดที่ 2 V1 = ปริมาตรของสารละลายชนิดที่ 1 V2= ปริมาตรของสารละลายชนิดที่ 2 3.2 วิธี Allegation method

สารละลาย 3.1 การลดและการเพิ่มความเข้มข้น โดยการคำนวณ 3 รพ.มีน้ำเกลือ D-10-N ถ้าหากต้องการน้ำเกลือ D-5-N 1000 ml จะต้องเตรียมอย่างไร D-10-N หมายถึง น้ำเกลือ 0.9%NSS มี dextrose 10% (C1) D-5-N หมายถึง น้ำเกลือ 0.9%NSS มี dextrose 5% (C2) C1 คือ ความเข้มข้นของ D-10-N =10% V1 คือ ปริมาตรของ D-10-N ที่ต้องการหา C2 คือ ความเข้มข้นของ D-5-N =5% V2 คือ ปริมาตรของ D-5-N=1000ml จากสูตร C1V1=C2V2 วิธีคิด 10 V1 = 5 1000 V1 = 5 1000/10 = 500 ml วิธีเตรียม สามารถเตรียมน้ำเกลือ D-5-N 1000 ml จาก D-10-N โดย นำ D-10-N มา 500 ml แล้วเติม 0.9%NSS จนได้เท่ากับ 1000 ml

สารละลาย 3.1 การลดและการเพิ่มความเข้มข้น โดยการคำนวณ 4 แพทย์สั่ง 10%Albumin 50 ml จะต้องทำอย่างไร (ใน รพ.มี 20%Albumin 50 ml/ขวด) C1 = 20% V1= ??? Albumin ที่มีใน รพ. C2 = 10% V2 = 50 ml Albumin ที่ต้องการ จากสูตร C1V1=C2V2 วิธีคิด 20*V1 = 10*50 V1 = 10*50/20 V1 = 25 ml ดังนั้น จะต้องดูด 20%Albumin มาปริมาตร 25 ml ผสมกับ SWFI 25 ml (จะได้ปริมาตรทั้งหมด 50 ml ) ก็จะได้ 10%Albumin 50 ml ตามต้องการ

สารละลาย 3.2 การลดและการเพิ่มความเข้มข้น โดยวิธี Allegation method 5 ถ้าต้องการเตรียม D-10-W 100 ml โดย รพ.มี D-5-W 100 ml และ 50%glucose 5% 40 ml D-5-W 10 50% 5 ml 50%glucose 40+5= 45 ส่วนของ D-10-W ดังนั้น ใช้ D-5-W 40/45*100= 88.88 ml 50%glucose 5/45*100= 11.11 ml สามารถเตรียมน้ำเกลือ D-10-W 100 ml ได้ โดย นำน้ำเกลือ D-5-W ขนาดขวด 100 ml 1 ขวด แล้วดูดทิ้ง 11.11 ml (จะเหลือน้ำเกลือในขวด 88.88 ml) ดูด 50%glucose 11.11 ml แล้วเติมลงไปในน้ำเกลือ D-5-W (ปริมาตรรวมเท่ากับ 100 ml ตามที่ต้องการ)

สารละลาย 4. คำสั่งใช้ยาแบบสัดส่วน 1. คำสั่งใช้ยาแบบสัดส่วน คืออะไร สัดส่วน คือ ปริมาตรยา ต่อ ปริมาตรสารละลายทั้งหมด เช่น Dopamin 2:1 หมายถึง Dopamin 2 mg ในสารละลาย 1 ml 2. อัตราเร็วในการให้ยา (rate) mcd/min = ml/hr เช่น แพทย์สั่ง Dopamin (2:1) iv drip 20 mcd/min 20 mcd/min = 20 ml/hr หมายถึง การให้ยาทางหลอดเลือดดำ 20 ml ใน 1 hr

สารละลาย 5. การบริหารยาตามคำสั่งสัดส่วน 6 แพทย์สั่ง Dopamin (2:1) iv drip 20 mcd/min วิธีคิด Dopamin 2:1 หมายถึง Dopamin 2 mg ใน D-5-W 1 ml โดย คิดจากน้ำเกลือ D-5-W ขวด 100 ml เทียบบัญญัติไตรยางศ์ จากคำสั่ง 2:1 D-5-W 1 ml จะมี Dopamin 2 mg ดังนั้น D-5-W 100 ml จะต้องใช้ Dopamin 2*100/1 mg =200 mg เนื่องจาก Dopamin ใน รพ.มี amp ขนาด 250 mg/10 ml จะต้องใช้ Dopamin = 200*10/250= 8 ml วิธีเตรียม เตรียมจากน้ำเกลือ D-5-W ขวด 100 ml โดยดูดออก 8 ml ดูด Dopamin 8 ml ผสมลงไปในน้ำเกลือ D-5-W (ตามข้อ 1) ปริมาตรทั้งหมดจะได้ 100 ml

สารละลาย 5. การคำนวณปริมาณยา จากอัตราเร็วในการให้ยา 7 การแปลงหน่วย mcg/kg/min เป็น mcd/min ตัวอย่าง Levophed (1:25) iv drip 5 mcd/min จะต้องใช้ Levophed กี่ vial และ D5W เท่าไร วิธีคิด mcd/min=ml/hr ขั้นที่ 1 หาปริมาตรรวมที่ต้องใช้ใน 1 วันก่อน โดยคิดจาก 1 วัน มี 24 ชั่วโมง 5 mcd/min= 5 ml/hr ดังนั้น จะใช้สารละลายปริมาตร 5*24 = 120 ml ขั้นที่ 2 หาปริมาณยาที่ต้องใช้ โดยคิดจากที่แพทย์สั่ง Levophed 1:25 หมายถึง Levoped 1 mg ใน D-5-W 25 ml จากความเข้มข้น Levophed ใน D-5-W 25 ml ต้องใช้ Levoped 1 mg ถ้าคิดใน 1 วัน ปริมาตรทั้งหมด 120 ml ต้องใช้ Levoped = 120*1/25 ต้องใช้ Levoped = 4.8 mg

สารละลาย 5. การคำนวณปริมาณยา จากอัตราเร็วในการให้ยา ดังนั้น 1 วัน (24 ชั่วโมง) จะต้องใช้ Levophed 4.8 mg ขั้นที่ 3 Levophed ที่มีในโรงพยาบาลมีขนาด 1mg/1ml (ขนาด 4 mg/4 ml) ต้องการใช้ 4.8 mg จะต้องเบิก 2 vial D-5-W เบิกขนาด 100 ml จะต้องเบิก 2 ขวด ห้องยาจ่าย Levophed 2 vial และ D-5-W 100 ml 2 ขวด

ขอบคุณค่ะ