แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คู่มือสุขภาพ “จุงหนานห่าย”
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
เคล็ดลับแห่งความสำเร็จ
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
กิจกรรม คุณติดเกมมากแค่ไหน
อย่าต้องตายเพราะงานที่คุณทำ
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (EXERCISE FOR THE ELDERLY)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
วิธีคลายเครียดตามเดือนเกิด
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
Algorithms.
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
บทที่ 2.
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
ขณะที่ต้องนั่งรอนานหลายชั่วโมง เธอตัดสินใจซื้อหนังสือมาอ่าน พร้อมคุ้กกี้สำหรับทานเล่นอีกถุงหนึ่ง
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ถ้าพ่อแม่เรียกเรา เราต้องรีบตอบเขา ถ้าพ่อแม่ให้เราทำอะไร เราต้องรีบไปทำ.
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
กรณีตัวอย่าง.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
คำถาม Delirium แยกจาก Dementia อย่างไร
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
9 วิธีแก้โรคนอนไม่หลับ นางสาว ศิรินภา เบิกบาน เอก อนามัยสิ่งแวดล้อม
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ โทร
การเลือกซื้อสินค้า.
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
สื่อเพื่อส่งเสริม กระบวนการคิด
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ความผิดปกติทางเพศ เฟตติชิซึ่ม (fetishism).
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ทางนำไปสู่การมีสุขภาพดี
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
คาถาสำหรับนักพูด.
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ภูมิใจนำเสนอ เรื่อง หล่อแบบสะอาด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม ผู้ป่วยนอกประสาทจิตเวชศาสตร์ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา นารีรัตน์ ทองยินดี

แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมและ การจัดการปัญหา การรับประทานอาหาร จำไม่ได้ว่ารับประทานอาหารไปแล้ว แนวทางการจัดการกับปัญหา - ควรให้อาหารระหว่างมื้อน้อยๆ และว่างตั้งไว้เพื่อได้เตือนความจำผู้ป่วย - ตรวจดูสุขภาพเหงือกฟัน - ทำอาหารชนิดที่คุ้นเคย เคี้ยวง่าย

การรับประทานยา ผู้ป่วยส่วนใหญ่ต้องรับประทานยาเป็นประจำและอาจทานยามากเกินไป แนวทางการจัดการกับปัญหา - ควรให้ผู้ดูแลเป็นผู้คอยจัดยาให้ - ควรหาอุปกรณ์จ่ายยาสำหรับหนึ่งวันหรือหนึ่งสัปดาห์

การนอน มักพบไม่ยอมนอนตอนกลางคืน ลุกเดินไปมา และนอนมากในเวลากลางวัน แนวทางการจัดการกับปัญหา - พยายามจัดเวลานอนให้เป็นประจำคงที่สม่ำเสมอ - หลีกเลี่ยงการนอนระหว่างวัน แต่ให้งีบหลับได้บ้าง - กระตุ้นให้มีกิจกรรมการเคลื่อนไหว เช่น พาเดิน - หลีกเลี่ยงคาเฟอีน - มีแสงสว่างพอเพียงในห้องนอน - ควรปรึกษาแพทย์

แนวทางการจัดการปัญหา การถามซ้ำๆ ผู้ป่วยมักถามเรื่องเดิมซ้ำๆ อาจเนื่องจากจำไม่ได้ว่าได้รับคำตอบว่าอะไร อาการเหล่านี้สร้างความอึดอัด และรำคาญให้กับผู้ดูแล แนวทางการจัดการปัญหา - กรณีที่ผู้ป่วยพออ่านหนังสือได้ อาจจะจดคำตอบลงในกระดาษ - เบี่ยงเบนความสนใจ - ไม่ควรถามย้อนกลับมาถามผู้ป่วยอีก หากผู้ป่วยลืมไปแล้ว

การแต่งตัว ไม่รู้ว่าเสื้อผ้ามีเอาไว้ทำอะไร ไม่ทราบวิธีการใส่ ไม่ทราบว่าจะต้องใส่อะไรก่อน-หลัง เป็นต้น แนวทางการจัดการกับปัญหา - เตรียมเสื้อผ้าไว้ให้ใส่ตามลำดับ - ให้เวลากับผู้ป่วยในการแต่งตัวบ้าง - ควรเลือกเสื้อผ้าที่ใส่สบายและง่าย

การอาบน้ำ มักจะลืมที่จะอาบน้ำ หรือไม่ยอมอาบน้ำ แนวทางการจัดการปัญหา - คงเวลาการอาบน้ำไว้ให้เหมือนเดิม - ควรมีความยึดหยุ่นเวลาออกไปบ้าง หลังจากอารมณ์ดีขึ้น - ควรอาบน้ำด้วยฝักบัวจะเป็นวิธีการสะดวกกว่า - ระวังความปลอดภัยของผู้ป่วยด้วย เช่น ควรมีราวจับ ผ้ายางกันลื่น เก้าอี้ไว้นั่งอาบน้ำ

การขับถ่าย มักไม่ทราบว่าจะเข้าห้องน้ำเมื่อไหร่ กลั่นอุจจาระไม่ได้ หาห้องน้ำไม่เจอ เข้าไปห้องน้ำแล้วไม่รู้ทำอะไร แนวทางการจัดการกับปัญหา - จัดเวลาการเข้าห้องน้ำให้เป็นประจำ เช่น หลังรับประทานอาหารทุกมื้อ และก่อนนอน - จำกัดเครื่องดื่มเมื่อใกล้เวลานอน - เปิดไฟไว้ห้องน้ำ ติดป้ายสัญลักษณ์แสดงว่าเป็นห้องน้ำ - รับประทานอาหารที่มีกากใย - ควรสวมเสื้อผ้าที่ถอดออกง่าย - เตรียมกระโถนปัสสาวะไว้ใกล้ๆ ที่นอน

การสื่อสาร จะค่อยๆ ลืมชื่อคน สถานที่ และสรรพนามจนพูดลำบาก แนวทางการจัดการปัญหา - ผู้ดูแลอาจเป็นผู้ช่วยพูดคำต่างๆ ที่คิดว่าเป็นคำที่ผู้ป่วยต้องการจะพูด - ผู้ดูแลควรลองเดาดูโดยบอกผู้ป่วยว่าคุณคิดว่าผู้ป่วยกำลังจะบอกอะไรกับคุณ - ควรใช้คำหรือประโยคง่ายๆ

การเข้าร่วมกิจกรรม ให้ผู้ป่วยมีกิจกรรมที่เพลิดเพลินทำให้ไม่รู้สึกเหงา แนวทางการจัดการกับปัญหา - ผู้ดูแลต้องกระตุ้นให้ผู้ป่วยอยากทำกิจกรรม เช่น งานฝีมือ ถัก เย็บ ปั้น หรืองานไม้ ที่ผู้ป่วยสนใจยังสามารถงานเหล่านั้นได้

การพาผู้ป่วยสมองเสื่อมออกนอกสถานที่ เพื่อเดินเล่น ออกกำลังกาย จะช่วยให้สภาพร่างกายและจิตใจสดชื่นได้ การพาผู้สูงอายุสมองเสื่อมออกนอกสถานที่อาจมีปัญหา เช่น การพลัดหลง แนวทางการจัดการปัญหา - ทำบัตรประจำตัว หรือ ปักชื่อที่เสื้อ โดยเขียน ที่อยู่ ชื่อบุคคลใกล้ชิดที่ติดต่อได้ให้ผู้ป่วยพกไว้ติดตัวตลอดเวลา

แนวทางการจัดการกับปัญหา อาการหวาดระแวง หลงผิด ประสาทหลอน อาการหวาดระแวงที่พบในผู้ป่วยสมองเสื่อมมักจะมีความหวาดระแวงที่ไม่สมเหตุสมผล แนวทางการจัดการกับปัญหา - อย่าโต้เถียงหรือประจันหน้ากับผู้ป่วย แต่ให้พยายามพูดอย่างนุ่มนวลอธิบายด้วยเหตุผล -พยายามหันเหความสนใจของผู้ป่วย โดยผู้ดูแลจะต้องใช้มีความอดทนสูง - หากควบคุมไม่ได้ ควรปรึกษาจิตแพทย์