วาระการประชุม แนวทางการพัฒนาโครงการรณรงค์ ลดการใช้น้ำมันทอดซ้ำเพื่อผลิตไบโอดีเซล วันที่ 16 พ.ค. 56 ณ ห้องประชุมสุมนทา วาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ทราบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ฝ่ายนโยบายและแผน งานงบประมาณ ฝ่ายการคลัง ภาควิชา หน่วยงาน
วันจันทร์ที่ 11 มิถุนายน 2555 เวลา น.
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
เรื่อง เว็บไซต์ IPhone Society
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การประชุมOEC-4R ครั้งที่ 10/ NOVEMBER 53
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ศูนย์การขายและลูกค้าสัมพันธ์ เดือน ตุลาคม 2556
รายงานแผนการปฏิบัติงาน สำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ลำปาง.
รายงานผลการปฏิบัติงาน สำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ลำปาง.
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2547
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ถอดรหัสสุ่มประเมิน แท่ง เชียงราย / พะเยา เจาะลึกเฉพาะเชียงราย
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค
งานคุ้มครองผู้บริโภค ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รายงานผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณปี 2554
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
สำนักงานกศน.จังหวัดพัทลุง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
งบเงินอุดหนุน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
สรุปผลนิเทศงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข ระดับอำเภอปีงบประมาณ สิงหาคม 2557.
ฝ่ายบริการและเผยแพร่วิชาการ
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
รายละเอียดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วาระการประชุม แนวทางการพัฒนาโครงการรณรงค์ ลดการใช้น้ำมันทอดซ้ำเพื่อผลิตไบโอดีเซล วันที่ 16 พ.ค. 56 ณ ห้องประชุมสุมนทา วาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ทราบ วาระที่ 2 สถานการณ์น้ำมันทอดซ้ำและผลการดำเนินงาน วาระที่ 3 ปัญหาและอุปสรรค วาระที่ 4 แนวทางการพัฒนาโครงการ วาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)

วาระที่ 2 สถานการณ์และผลการดำเนินงาน

โดย..ใช้งบประมาณเทศบาลนครขอนแก่น ในการจัดซื้อ 1,000 ล/ด. เครือข่ายปฏิวัติน้ำมันทอดซ้ำ เทศบาลนครขอนแก่น (โครงการชาวนครขอนแก่นร่วมใจ ลด ละ เลิก การใช้น้ำมันทอดซ้ำ) โดย..ใช้งบประมาณเทศบาลนครขอนแก่น ในการจัดซื้อ 1,000 ล/ด. ใช้งบกองทุนสุขภาพในการรณรงค์และจัดเวทีวิชาการโดย อสคบ.

บทบาทของเทศบาลนครขอนแก่น ใช้ไบโอดีเซล (กับรถเทศบาล) ประชาสัมพันธ์ (อันตรายของน้ำมันทอดซ้ำ ภัยที่ถูกมองข้าม) ป้องกันปัญหาด้านสุขภาพ (โดยดูดซับน้ำมันทอดซ้ำออกจากแหล่งประกอบอาหาร) บทบาทของเทศบาลนครขอนแก่น รับซื้อน้ำมันทอดซ้ำ (หน้าเทศบาลและหน่วยเคลื่อนที่) นำไปกำจัดอย่างถูกวิธี (โดยผลิตไบโอดีเซล) ส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปใช้ไบโอดีเซล

ผลการดำเนินงานโครงการ 49-54 ปริมาณ(ลิตร) ปีงบฯ น้ำมันทอดซ้ำ ส่งผลิตไบโอดีเซล การใช้ไบโอดีเซล 2549 3,989 2550 54,059 52,800 39,800 2551 44,669 39,200 31,400 2552 63,673 63,700 50,200 2553 22,538 30,000 23,800 2554 8,395 7,800 6,200 6 ปี 197,323 193,500 151,400

ผลการดำเนินงาน ปี 2556 ไตรมาส น้ำมันทอดซ้ำ (ลิตร) ส่งให้ มข. (ลิตร) รับไบโอดีเซล (ลิตร) stock 1,000 1 2,500 ยังไม่มีการส่ง ยังไม่มีการรับ 2 3 500 รวม 6,500 ลิตร สถิติปริมาณน้ำมันทอดซ้ำจากร้านอาหารที่อยู่ในเป้าหมาย “ร้านอาหารติดดาว” ปริมาณที่ขายให้กับผู้รับซื้อเอกชน จำนวนประมาณ 3,000-4,000 ล/ด.

กิจกรรมการดำเนินงานที่ผ่านมา

วิธีการดำเนินงาน = รณรงค์สร้างความตระหนัก ชี้อันตราย เสนอวิธีการแก้ไขและนำกลับไปใช้ประโยชน์

รณรงค์การใช้น้ำมันไบโอดีเซล

หลักสูตรท้องถิ่นในโรงเรียน

วาระที่ 4 แนวทางการพัฒนาโครงการ

2เครือข่ายปฏิวัติน้ำมันทอดซ้ำ รูปแบบและ วิธีการดำเนินงาน ปี 56 1.ดูดซับน้ำมัน ทอดซ้ำ 2เครือข่ายปฏิวัติน้ำมันทอดซ้ำ อสคบ. ศูนย์รีไซเคิลชุมชน ร้านอาหารปลอดภัย ไม่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ ธนาคารน้ำมันทอดซ้ำ 3.การใช้ไบโอดีเซล ศูนย์รับแจ้งข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพ 7 ศูนย์ รวบรวมสถิติการจำหน่ายน้ำมันให้เอกชน ในโรงเรียนและชุมชนรวม 100 แห่ง

ประเด็นหารือ แนวทางการรวบรวมน้ำมันทอดซ้ำ - การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ - การรับ-ส่งน้ำมันทอดซ้ำ 2. รูปแบบการส่งน้ำมันทอดซ้ำเพื่อผลิตไบโอดีเซล 3. การรับและการใช้น้ำมันไบโอดีเซล 4. แผนการดำเนินงาน

เป้าหมายการดำเนินงาน 100 ลิตร/หน่วย/เดือน แผนการดำเนินงาน เริ่มสตาร์ทการรณรงค์ “วันสิ่งแวดล้อมโลก” 5 มิ.ย. 56 การเตรียมการก่อนรณรงค์ คือ - การอบรมคณะทำงาน (โรงเรียนและชุมชน จำนวน 100*2 คน) - การจัดเตรียมสื่อประชาสัมพันธ์ เป้าหมายการดำเนินงาน 100 ลิตร/หน่วย/เดือน รวมปริมาณน้ำมันทอดซ้ำ 10,000 ลิตร/เดือน

งบประมาณดำเนินการ(เพิ่มเติม) สื่อรณรงค์และประชาสัมพันธ์ เช่น ป้ายธนาคารฯ ป้ายบอกราคา ไวนิล โปสเตอร์ แผ่นพับ ฯลฯ อุปกรณ์ในการรับซื้อน้ำมันทอดซ้ำ

กำหนดยุทธศาสตร์ 2 ปี Bio diesel เปลี่ยนแปลงกระแสสังคม ยินดีใช้ -ลดค่าใช้จ่าย - ลดมลพิษ -ส่งเสริมสุขภาพ -คงเหลือพลังงานให้คนรุ่นหลัง - เกิดธุรกิจพลังงานใหม่ ยอมรับ รู้จัก TAKE OVER