รายงานการวิจัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
การทำทบทวนวรรณกรรมหรือวรรณกรรมปริทัศน์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
รหัสวิชา ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology)
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
งานวิจัยที่ดี.
Management Information Systems
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การเขียนโครงร่างการวิจัย
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
แนวคิดในการทำวิจัย.
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การเขียนรายงาน.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
16. การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 4 ข้อเสนอโครงการวิจัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการวิจัย

ส่วนนำ หน้าหัวเรื่อง บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิหรือภาพ

ส่วนเนื้อความ บทนำ วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัยและการอภิปรายผล สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

ส่วนอ้างอิง บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้วิจัย

บทที่ 1 : บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา คำถามในการวิจัย วัตถุประสงค์ในการวิจัย ขอบเขต สมมติฐาน คำจำกัดความ ข้อตกลงเบื้องต้น ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

บทที่ 2 : วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 : วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นส่วนที่จะช่วยให้เห็นภาพพจน์ของปัญหาให้เด่นชัดยิ่งขึ้น ช่วยชี้ให้เห็นเหตุผลที่นำไปสู่จุดมุ่งหมายของการวิจัย และช่วยชี้ให้ทราบว่าส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัย ส่วนใดบ้างได้มีผู้ดำเนินการไปแล้ว การสรุปเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องควรเลือกกล่าวถึงเฉพาะสิ่งที่สำคัญ เช่น วัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น ๆ วิธีการที่ผู้วิจัยใช้ในการแก้ปัญหาผลที่ได้รับจากการวิจัย ข้อสรุป ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าของการวิจัยนั้น ๆ ความคิดเห็นจากเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ ที่นำมากล่าวถึง ควรจะนำมาเกี่ยวโยงกัน และให้สัมพันธ์กับปัญหาที่จะทำการวิจัย หากการเสนอความคิดเห็นของงานวิจัยแต่ละเรื่องแยกจากกัน จะทำให้การนำเสนอไม่ต่อเนื่องกัน หลีกเลี่ยงการลอกข้อความโดยตรงมาทั้งหมด ควรจะนำความคิดจากแหล่งต่าง ๆ มารวมกัน และเขียนเสนอเป็นคำพูดของผู้เขียนเอง การเขียนรายงานในส่วนนี้ควรกล่าวถึงเฉพาะสิ่งที่สำคัญ ไม่ควรกล่าวถึงงานวิจัยต่าง ๆ โดยเรียงลำดับ ตามปีที่ดำเนินการวิจัย สรุปแนวคิดที่จะนำมาใช้ในการวิจัยของตนเอง

บทที่ 3 : วิธีดำเนินการวิจัย แหล่งข้อมูล ประชากร และการเลือกตัวอย่าง ตัวแปรที่ศึกษา วิธีการรวบรวมข้อมูล วิธีดำเนินการทดลอง วิธีการวัดผล วิธีการสร้างเครื่องมือ การหาค่าความเที่ยงความตรงของเครื่องมือ การวิเคราะห์ข้อมูล

บทที่ 4 : ผลการวิจัยและการอภิปรายผล เป็นการเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้และมีการวิเคราะห์ ต้องระวังไม่เอาผลการวิจัยไปปะปนกับผลของการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ต้องเสนอผลอย่างกระจ่าง รัดกุม และตามข้อเท็จจริง และในลักษณะที่ได้จัดเรียงลำดับไว้อย่างดีแล้ว โดยลำดับตามความสำคัญที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ หรือตามตัวแปรต่าง ๆ ก็ได้ การใช้ตารางจึงเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการเสนอผลการวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวิจัยที่ใช้สถิติมาก ฉะนั้นก่อนที่จะเขียนบทนี้จะต้องเตรียมตาราง แผนภูมิ หรือภาพ ที่ต้องการจะใช้ให้เรียบร้อยเสียก่อน และเรียงลำดับตามความสำคัญ ชื่อตารางหรือ ภาพจะต้องเฉพาะเจาะจงเพื่อที่จะช่วยให้ทราบว่า ตารางหรือภาพนั้น กล่าวถึงอะไร และควรจะมีคำอธิบายหรือตีความส่วนสำคัญของตาราง และภาพนั้นไว้ข้างท้ายด้วยทุกครั้ง ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับงานวิจัย อาจมีขอบเขตกว้างขวางจนสามารถที่จะนำเสนอ แยกเป็น 1 – 3 บทก็ได้

บทที่ 4 : ผลการวิจัยและการอภิปรายผล การอภิปรายผล เป็นการอธิบายและทำนายผล ว่าผลการวิจัยนั้นมีเหตุมาจากอะไร และมีแนวโน้มว่าจะเป็นอย่างไรต่อไป ซึ่งควรจะมีลักษณะที่สร้างสรรค์ ต้องอาศัยความเข้าใจเกี่ยวกับขอบเขตของการวิจัยและงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี การอภิปรายผล ควรจะรวมถึงการประยุกต์ทฤษฎี ทางการศึกษาต่าง ๆ เข้าไว้ด้วย ต้องคำนึงถึงจุดอ่อนของวิธีดำเนินการวิจัย มีการทบทวนแนวคิดในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย เพื่อนำไปสู่การ เสนอแนะเกี่ยวกับการวิจัยอื่น ๆ ต่อไป

บทที่ 5 : สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ บทที่ 5 : สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ เป็นการทบทวน ปัญหา และวิธีที่ใช้ในการวิจัยทั้งนี้มุ่งที่จะให้ผู้อ่านได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย การทบทวนควรจะ กล่าวอย่างสั้น ๆ และนำไปสู่การสรุป การสรุปขึ้นอยู่กับความซับซ้อนของผลที่ ได้จากการวิจัย ควรสรุปตามข้อเท็จจริงที่พบในการวิจัย ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ และข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อๆไป ควรคำนึงถึงจุดอ่อน ของวิธีดำเนินการวิจัย ทบทวนแนวคิดในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

การเผยแพร่งานวิจัย วัตถุประสงค์ รูปแบบ เทคนิคพิเศษ ภาษา เนื้อหา

บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย ข้อสรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะที่สำคัญ

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความชัดเจนของปัญหาการวิจัยและเหตุผลที่ต้องทำการวิจัย ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสภาพปัจจุบัน ความเกี่ยวข้องของปัญหาการวิจัยกับสาขาวิชาที่ศึกษา ความชัดเจนของวัตถุประสงค์การวิจัย

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความสอดคล้องของวัตถุประสงค์กับปัญหาการวิจัย การทบทวนวรรณกรรมที่ครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเชื่อมโยงวรรณกรรมที่ทบทวนและงานวิจัยสู่การกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยเหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มเป้าหมายมีความเหมาะสม คุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ความถูกต้องเหมาะสมของเทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเหมาะสมกับลักษณะข้อมูล

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความน่าเชื่อถือของข้อมูล ความเหมาะสมในการนำเสนอและตีความหมายข้อมูล การสรุปผลถูกต้องและเชื่อถือได้ ความสอดคล้องและครอบคลุมของผลการวิจัยกับวัตถุประสงค์

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความรู้ใหม่ที่ได้จากการสังเคราะห์ผลการวิจัย ประโยชน์ของผลที่ได้จากการวิจัย ความสามารถในการบูรณาการความรู้จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผลการวิจัย ความสามารถในการสะท้อนผลถึงข้อดีและข้อจำกัดในการวิจัย ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะถึงการนำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้

เกณฑ์การประเมิน รายงานการวิจัย ความเหมาะสมของวิธีการนำเสนอ ความเหมาะสมของสื่อที่ใช้ในการนำเสนอ การนำเสนอเนื้อหาเป็นลำดับขั้นตอนที่เหมาะสม การนำเสนอแนวคิดมีความชัดเจนและต่อเนื่อง บุคลิกภาพ การแสดงออก ความเชื่อมั่นของผู้นำเสนอ ความสอดคล้องของเนื้อหาที่นำเสนอกับที่เขียนในรายงานการวิจัย ความสามารถในการสรุปผลการวิจัย