โครงการพัฒนา e-Thailand และ e-Government
ไทยเริ่มดำเนินการเพื่อการพัฒนา e-Thailand (1) ปี 2543 กลุ่มอาเซียนได้ริเริ่ม e-ASEAN Initiative เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีเศรษฐกิจโลก ไทยเริ่มดำเนินการเพื่อการพัฒนา e-Thailand
e-Thailand คือ แนวทางการพัฒนาประเทศไทย เพื่อ (2) e-Thailand คือ แนวทางการพัฒนาประเทศไทย เพื่อ ลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำในสังคมอย่างเป็นธรรม พัฒนาสังคม บุคลากร และสารสนเทศ อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อย่างทั่วถึงและโปร่งใส ศึกษาและกำหนดทิศทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศอย่างชัดเจน ส่งเสริมการค้า การบริการ และการลงทุน สร้างความเชื่อมั่นและอำนวยความสะดวก สร้างโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ให้พร้อมรับ เพื่อให้การพัฒนา e-Thailand เป็นไปในทิศทางที่สอดคล้องกันและเท่าทันการปรับเปลี่ยนของนานาชาติ
e-Thailand: Organization Chart e-Society e-Government E-Commerce Facilitation Liberalization National formation Infrastructure e-Trade e-Service e-Investment
การสร้างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ เป้าหมายที่ควรพิจารณาในการพัฒนาให้เกิด e-Government ในไทย ส่งเสริมและสร้างความเข้าใจแนวคิดการสร้าง e-Government กับหน่วยงาน ให้มีแผนงาน มาตรการ และแนวทางการดำเนินงานที่เป็นเอกภาพ จัดการและประสานให้การพัฒนา e-Thailand เป็นมาตรฐานสากลทั้งในระดับภูมิภาค และระดับโลก เพิ่มความโปร่งใสและความเข้าใจต่อการดำเนินงานภาครัฐในกิจกรรมต่าง ๆ อย่างทั่วถึง เพิ่มประสิทธิภาพและขยายการให้บริการต่าง ๆ ของภาครัฐให้เป็นไปอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เพิ่มความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการพัฒนากิจกรรมด้านต่าง ๆ
E-Government Definition (World Bank) รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และคมนาคม (Information and Communications Technologies : ICT) ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพ ความสัมฤทธิผล ความโปร่งใส และความรับผิดชอบของรัฐบาล
E-Government Definition(UN) ความผูกมัดตลอดไปของรัฐบาลในการปรับปรุง ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและภาครัฐ โดยการยกระดับการสร้างความคุ้มค่า และการสร้าง ประสิทธิภาพในเรื่องการให้บริการข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ สิ่งนี้เป็นข้อตระหนักว่าเป็นวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดที่รัฐบาล พึงดำเนินการให้กับประชาชน
วิสัยทัศน์ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ e-Government จะมีส่วนสำคัญในการสร้างเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า Digital Economy, Knowledge Economy และพลังในการปฏิวัติ ที่เรียกว่า Digital Revolution โดยสิ้นเชิงในภาคราชการ e-Government สามารถช่วยยกระดับการพัฒนาประชาธิปไตย โดยปรัชญาของ e-Government เป็นการสนองความต้องการของประชาชน ประชาชนมีส่วนร่วมในการทำงานของรัฐบาล
วิสัยทัศน์ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) Corruption และ red tape จะถูกกำจัดออกไปเนื่องจาก e-Government เป็นกระบวนการที่เปิดเผย โปร่งใส ตรวจสอบได้ และรับรู้โดยสาธารณะ Good Governance เป็นสิ่งสำคัญ ซึ่ง e-Government จะช่วยส่งเสริมให้เกิดขึ้นได้ เนื่องจากเป็นกระบวนการที่มีส่วนร่วมกันทั้งรัฐ ประชาชน และธุรกิจ
วิสัยทัศน์ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) e-Government จะต้องส่งเสริม ให้เกิดการป้องกัน ข้อมูลส่วนตัวของประชาชน (Privacy) ในขณะ เดียวกันก็ต้องสร้างระบบความปลอดภัย (Security) Digital Divide : e-Government จะช่วยลดช่องว่างในเรื่อง Digital Divide
Public Services Infrastructure Web Servers Application Servers Data Repositories / Services User Profiles Security Payment EDX Gateway EDX
อนุกรรมการส่งเสริมการใช้ไอทีในหน่วยงานของรัฐ คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ผู้สนับสนุนโครงการ : ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกุล เจ้าของโครงการ : ดร. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้ร่วมสนับสนุนโครงการ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เลขาธิการ ก.พ. เลขาธิการสภาพัฒน์ ฯ ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ : มีนาคม 2544 - มีนาคม 2546
e-ASEAN initiative and e-Thailand e-Society Government IT Services National ID Card Gov. common information infrastructure PinTip: Revenue Dept Online Government Certification Authority e-Government Liberalization E-C Facilitation Information Infrastructure
ขอบเขตของโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย ผลักดัน ประสานงาน แผนหลัก แผนปฏิบัติการ และกรอบกลยุทธ์ บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ โครงการตัวอย่างนำ จัดทำมาตรฐาน แนวทาง และคู่มือ จัดทำข้อเสนอแนะและแนวทางในการปรับปรุงองค์กร
การใช้กลไก e-commerce เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและการบริการของรัฐ รัฐ G Government ประชาชน C Citizen/Consumer เอกชน B Business
บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ 4 ทางหลัก บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ 4 ทางหลัก Online Information service: ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ข บริการ ข้อมูล ข่าวสาร Simple Transaction Service: กรมทะเบียนการค้า ร บริการ เชิงรายการ Payment Gateway: กรมสรรพากร ง โอนเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ e-Procurment: สำนักงานปลัด สำนักนายกรัฐมนตรี (กำลังดำเนินการ) ซ จัดซื้อ ทางอิเล็กทรอนิกส์
บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ 4 ทางหลัก บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ 4 ทางหลัก Online Information Services: (G2G) (G2C) (G2B) Simple Transaction Services: (G2C) (G2B) Payment Gateway: (B2G) (C2G) (Electronic Funds Transfer) e-Procurement: (G2B)
Online Information service: Bank of Thailand
Online Information service: Board of Investment
การค้นหาและจองชื่อนิติบุคคล Simple Transaction Service: กรมทะเบียนการค้า การค้นหาและจองชื่อนิติบุคคล
การยื่นแบบและชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม ผ่านอินเทอร์เน็ต Payment Gateway: กรมสรรพากร การยื่นแบบและชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม ผ่านอินเทอร์เน็ต
โครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (กำลังดำเนินการ) e-Procurement: สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี โครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (กำลังดำเนินการ)