ข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มเด็กปฐมวัย ๐ – ๓ ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนภัทรญาณวิทยา
Advertisements

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 วิชาภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ เข้าแถว
โรงเรียนอนุบาลหมู่บ้านเด็ก สานรัก
งานด้านเด็ก ในปี พ.ศ.๒๕๔๘ รับเด็กใหม่เข้ามา จำนวน ๑๓ คน มีเด็กรวมทั้งสิ้น ๑๔๔ คน แยกเป็นประเภทดังนี้ ประเภท จำนวน/คน เด็กกำพร้า ๓๑ เด็กยากจน ๔๑ ครอบครัวแตกแยก.
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
แนวทางการบูรณาการ อพม.กับโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
การพัฒนาการอ่านรู้เรื่อง และสื่อสารได้(Literacy)
โครงการพัฒนาคุณธรรม สำนึกไทย พัฒนาเด็กไทยอย่างยั่งยืน
แนวทางการพัฒนางาน บริการชุมชนและส่งเสริมการใช้บริการ
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
สถานี รู้เรา รู้เขา. ๑ เรียนรู้สถานการณ์ ปัญหาอนามัย การเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น ๒ แนวทางอนามัยการ เจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น ๓ ความรู้และทักษะที่วัยรุ่น ความ.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
ปัญหาสำคัญ / ทางออกสำหรับ เด็ก ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๓. วัตถุประสงค์ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กของ จังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อเสนอโครงการพัฒนาเด็กตาม ความต้องการของจังหวัด.
๑. การพัฒนาบุคลากร. ๑. การพัฒนาบุคลากร ๑. การแต่งกายบุคลิกลักษณะท่าทาง -การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การแต่งกายของนักเรียน
แนวทางการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาไทย ปี ๒๕๕๓
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
ถวายเป็นพุทธบูชา (ฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปี แห่งการตรัสรู้ธรรม)
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
ครั้งที่ ๒.
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Pass:
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
โครงการความร่วมมือของ บวร เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
นางประภาพรรณ กุลลาย ผู้อำนวยการ ประเมินคุณภาพภายนอก สมศ.
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
ปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการดำเนินงาน สถาบันสวัสดิการและพัฒนาการเด็ก มูลนิธิเด็ก เดือนมกราคม – เดือนธันวาคม ๒๕๔๘

ข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มเด็กปฐมวัย ๐ – ๓ ปี โครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย เด็ก ครู/ผู้ปกครอง ๑.บ้านทานตะวัน -ให้การสงเคราะห์เด็ก ๐ – ๓ ปีที่ขาดสารอาหาร ถูกทารุณกรรม ถูกทอดทิ้ง ประสบปัญหาเฉพาะหน้า -สงเคราะห์ทุนประกอบอาชีพแก่ครอบครัวยากไร้ ๑.บ้านพักฟื้น ๒.สงเคราะห์นมผง ๓.งานให้คำปรึกษาครอบครัว ๓๘ ๗๘ ๑๕๔ ๒.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก -ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความเข้าใจแก่ครอบครัว และชุมชนเรื่องการดูแลเด็ก -อบรมผู้ดูแลเด็กและครูให้มีคุณภาพในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ๑.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒.กระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรม คุณธรรมเด็กปฐมวัย ๓.การให้ความรู้พ่อแม่ในการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนการส่งเสริมการอ่าน ๑๒,๕๙๒ ๗๔๗ ๑,๔๘๗ ๕๒๔

ข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มเด็กวัยเรียน ๖– ๑๘ ปี โครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย เด็ก ครู/ผู้ปกครอง ๓.อาหารเพื่อเด็กและชุมชน -เพื่อจัดหารูปแบบในการพัฒนาเด็ก และสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม -เพื่อสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็กที่ประสบปัญหา ในด้านการศึกษา และการดำรงชีวิตของชุมชน -หารูปแบบการพัฒนาเด็ก เยาวชน ครอบครัว และชุมชนที่เป็นรูปธรรม ๑.อาหารกลางวันในโรงเรียน ๒.เกษตรของหนู ๑๗,๒๗๕ ๒,๙๕๑ ๒,๒๔๒ ๔.ปัจจัยสี่เพื่อเด็กสู่ชุมชน - เพื่อช่วยเหลือเด็กและครอบครัวที่ขาดแคลนปัจจัยสี่ ๑.ปัจจัยสี่เพื่อเด็กและชุมชน ๑๒,๕๖๓ ๔,๔๓๕ ๕.ทุนการศึกษาเพื่อเด็กยากไร้ - เพื่อช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาเรื่องการศึกษาและการดำเนินชีวิต ๑.ทุนการศึกษาเพื่อเด็กยากไร้ในชนบท ๑,๘๐๗

ข้อมูลการดำเนินงานของกลุ่มเด็กวัยเรียน ๖ – ๑๘ ปี (ต่อ) โครงการ วัตถุประสงค์ กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย เด็ก ครู/ผู้ปกครอง ๖.ห้องสมุดเพื่อเด็กในชนบท -เพื่อส่งเสริมให้เด็ก ครอบครัว และชุมชน มีพฤติกรรมการอ่านที่ดี -เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ประสบการณ์ ความคิด ผ่าน กระบวนการส่งเสริมการอ่าน ๑.ห้องสมุดโรงเรียน ๒.ห้องสมุดครอบครัว ๓.ห้องสมุดเคลื่อนที่ ๔.การสร้างนิทานเพื่อการพัฒนาเด็ก ๒,๑๖๕ ๒๔๕ ๒,๐๙๐ ๔,๕๐๐ ๑๖,๗๗๔ ๒,๐๐๔ ๑๓,๗๘๒ ๓๒,๕๖๐ ๗.อาหารเพลเพื่อสามเณรและชุมชน -ช่วยเหลือเด็กชายที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา -ส่งเสริมแนวทางการพัฒนาการศึกษาของสามเณร -ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาสามเณรและเด็กตามแนวพุทธธรรม ๑.อาหารเพลเพื่อสามเณร ๒.ค่ายปฎิบัติธรรม ๓.บรรพชาสามเณร ๔.อบรมเยาวชนภาคฤดูร้อน ๕.กองทุนเพื่อการศึกษาตามแนวพุทธธรรม ๖.การศึกษาตามแนวพุทธธรรม ๔๖๕ - ๔๖๗ ๑,๐๙๕ ๑๐๐ ๒๕ ๒๐๗ ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดครอบครัว ห้องสมุดเคลื่อนที่

โครงการบ้านทานตะวัน บ้านพักฟื้น สำหรับเด็ก มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ เชิงบำบัด และฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายและจิตใจให้แก่เด็ก ตามความต้องการขั้นพื้นฐาน จำนวนเด็กพักฟื้นในช่วงเดือนมกราคม – ธันวาคม ๒๕๔๘ จำนวน ๔๗ ราย สงเคราะห์นมผง พื้นที่ในกรุงเทพฯ จำนวน ๗๔ ราย คิดเป็น ๑๐๖ กิโลกรัม พื้นที่ต่างจังหวัด จำนวน ๓๖ ราย คิดเป็น ๔๒ กิโลกรัม งานให้คำปรึกษา เรื่องขอเข้าพักฟื้น จำนวน ๑๓๙ ราย เรื่องอื่น ๆ จำนวน ๒๔๑ ราย การป้อนนม การนวดตัวเด็ก การอาบน้ำ

โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสานรัก ๑ เอไอเอส ต.อุ่มเม่า อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ ได้เปิดดำเนินการจนครบปีการศึกษาในเดือนมีนาคม ๒๕๔๘ มีเด็กที่เข้ามารับบริการในศูนย์ฯ ตลอดทั้งปี จำนวนทั้งสิ้น ๗๔ คน โดยเฉลี่ยมาเรียนวันละ ๔๐ คน มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ สังคม เข้าแถวสร้างระเบียบวินัย การเล่นคือ การเรียนรู้ของหนู

โครงการอาหารเพลเพื่อสามเณรและชุมชน กิจกรรมพุทธบุตรนำธรรมะสู่ชุมชน เพื่อให้สามเณรได้เรียนรู้เรื่องราวในท้องถิ่น และเพื่อพัฒนาทักษะการเผยแพร่ธรรมะ สามเณรกำลังฝึกนั่งสมาธิ สามเณรในโครงการฯ

กิจกรรมการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน จำนวนสามเณรและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ – พ.ศ. ๒๕๔๘ ปี (พ.ศ.) สามเณร (รูป) เยาวชน (คน) สามเณรที่ศึกษาต่อ (รูป) คิดเป็นร้อยละ ๒๕๔๖ ๕๒๔ ๑,๓๔๒ ๒๘๘ ๕๔.๙๖ ๒๕๔๗ ๕๖๐ ๑,๘๐๐ ๑๘๑ ๓๒.๓๒ ๒๕๔๘ ๔๖๗ ๑,๐๙๕ ๑๗๖ ๓๗.๖๙ พ.ศ.๒๕๔๘ มีวัดที่จังหวัดปัตตานีเข้าร่วมโครงการ ๒ วัด จึงมีวัดที่เข้าร่วมโครงการในปี พ.ศ.๒๕๔๘ รวมทั้งสิ้น ๑๗ วัด