สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
POLICY BRIEF ก้าวต่อไปของประเทศไทย 01 DECOUPLING
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
จัดโดย APO ณ ประเทศปากีสถาน
กลุ่มที่ 5 การเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันในระดับสากล
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการจัดการ
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
กิจกรรมและบริการด้านการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
อาจารย์วีระศักดิ์ เครือเทพ
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี
โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT.
ปัจจัยสนับสนุน ความสามารถในการแข่งขัน
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
การสอบวัดคุณสมบัติสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก (Qualify Examination : QE)
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การเตรียมรับมือกับการ เปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจในอนาคต 29 กันยายน 2553 โดย นางสุทธินีย์ พู่ผกา ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม.
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
1 การประชุมคณะทำงาน ครั้งที 1-3 กระประชุมคณะกรรมการ ครั้งที 1 การประชุมคณะทำงาน ครั้งที 4-5 การประชุม Stakeholder การประชุมคณะกรรมการ ครั้งที 2 การจัดทำแผนปฏิบัติ
การสื่อสารและ โทรคมนาคมของไทยกับ การเปิดเสรี นางสาวชุติมา บุณยประภัศร ที่ปรึกษาการพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย์
การเจรจาเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมและประมง ภายใต้ WTO
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เศรษฐกิจ FTA Trade Barrier (NTB) Hub CM. การเมือง วิสัยทัศน์ผู้นำ นโยบายผู้ว่า CEO นโยบาย Food Safety การเมืองมีพรรคใหญ่ 2 พรรค ความโปร่งใส เผด็จการ และ.
ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ขั้นตอนการวิเคราะห์ การกำหนดโจทย์/ ประเด็นที่ต้องการทดสอบ – ต้องมีความชัดเจน การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น การกำหนดกรอบการวิเคราะห์ การเลือกใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
Evaluation of Thailand Master Plan
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
มหาวิทยาลัยวิจัยไทย : แนวคิด ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ และ บทบาทของนักวิชาชีพไทยใน ต่างประเทศต่อการพัฒนา วันชัย ดีเอกนามกูล คณะกรรมการอำนวย และ คณะกรรมการ.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย

ประเด็นที่นำเสนอ

Strategies Strategic Position What to do? How to do? = X Value Creation = Opportunities Strategies Capabilities X What to do? Strategic Position How to do?

Dual Track : Global Local Links Community- Urban Trade Community- Global Between- Community Within-Community Self-Sufficiency Surplus Specialization Social Cohesion International Competitiveness Sufficiency Community Building Cultural Identity Family Value Efficiency Cost effective Productivity Innovation

Active International Player Owner of Advance Technology Positioning Thailand Knowledge-Based Economy Active International Player Owner of Advance Technology HPE Public Sector Reform PrivateSector Reform Global Niches Society of Good Living Macro Economic Foundation Fiscal & Monetary Policies Trade and Investment Policies International Policies Generic Factors Human Resources S&T Management Infrastructure Awareness

กฎระเบียบ โครงสร้างพื้นฐาน แรงงาน เทคโนโลยี (กรณีโทรคมนาคม) SMEs มีทรัพยากรที่จำกัดใน การปฏิบัติตามกฎระเบียบ กฎระเบียบมีจำนวนมาก ล้าสมัย และสร้างต้นทุนแก่ธุรกิจ อุตสาหกรรมผูกขาด หรือ กึ่งผูกขาด ราคาค่าบริการสูงกว่าประเทศ ข้างเคียง แรงงาน เทคโนโลยี แม้ว่าแรงงาน S&T มีปริมาณ มากขึ้น แต่ยังมีน้อยกว่า ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ แรงงานมีปัญหาเรื่องคุณภาพ การวิจัยและพัฒนาส่วนใหญ่ อยู่ในภาครัฐ ระบบสนับสนุนภาคเอกชนไม่มี ประสิทธิผล

สรุปผลจากการประชุมกลุ่มย่อย

สรุปผล Position และ What to do? : เป็นที่ยอมรับของที่ประชุม และอาจมีการเพิ่มเติมได้อีกตามความเหมาะสม กำหนดความหมายของ Position ให้ชัดเจน เช่น Knowledge Based Economy รวมทั้งสร้างความเข้าใจเรื่อง Competitiveness ว่าเป็น National Agenda และต้อง ดำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป็นเรื่องที่ต้องทำร่วมกันทุกฝ่าย โดยมีการพัฒนาข้อมูล และวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ

สรุปผล Global Niches : ต้องมีการกำหนดความหมายของ Global Niches ให้ชัดเจน ต้องสร้างความเข้าใจให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อาจมีการกำหนด Niches อื่นๆ เพิ่มเติมได้ เช่น Health Industry กำหนดนโยบายเพื่อการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ (Cluster) ต้องเป็นไปด้วยความรอบคอบและขึ้นอยู่กับ ความพร้อมของภาคเอกชน

สรุปผล ปัญหาที่เป็นตุ้มถ่วงของความสามารถในการแข่งขัน คือ คอรัปชั่น กฎระเบียบ ระบบภาษี (อัตราภาษีและการจัดเก็บ) การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ควรเน้น การสนับสนุน SMEs การพัฒนา R&D การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (ระบบการศึกษาและแรงงาน) การให้ความสำคัญกับ Social Impact การดำเนินการต่อไป : ควรมีการกำหนด How to do? ในแต่ละด้านให้ชัดเจน ส่วนหนึ่งควรมีการใช้ประโยชน์จาก การศึกษาวิจัยต่างๆ ที่ผ่านมา

สรุปผล แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถ ต้องทำให้เป็น National Consensus ต้องทำทั้งระบบอย่างจริงจัง ต้องทำร่วมกันทุกฝ่ายทั้งภาคเอกชน และภาครัฐ