แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการสร้างสุขภาวะ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10 โดย สุวรรณี คำมั่น ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2 พฤษภาคม 2550
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร ทางสายกลาง ความพอประมาณ มีเหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้ ความรอบคอบ ระมัดระวัง คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต ความเพียร ความอดทน มีสติ
สถานภาพของโครงสร้างด้านสังคม เปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ ความเหลื่อมล้ำทางสังคม สถานภาพทางสังคม เปรียบเทียบกับประเทศต่างๆ 77 ใน 173 ประเทศ ช่องว่างระหว่างรายได้ของกลุ่มคนรวยสุด เทียบกับกลุ่มยากจนสุด ในเขตเมืองห่างกัน 80 เท่า ในปี 2547 ดีกว่าปี 2543 ที่ห่างกันถึง 107.7 เท่า เขตชนบทห่างกัน 4.5 เท่าในปี 2547 ดีกว่าปี 2543 ที่ห่างกัน 4.9 เท่า โอกาสทางการศึกษา เพิ่มขึ้น ขั้นพื้นฐาน 87.3% อาชีวะ 37 : สามัญ 63 ความมั่นคงของครอบครัว เปราะบางขึ้น อุดมศึกษา ปี 43- 37.6% ปี 47-44.3% อัตราการหย่าร้าง 5.03 คู่:พันครัวเรือน วิทย์ 24 : สังคม 76 ผู้หญิงเป็นโสดมากขึ้น : อายุ 15-24 ปี โสด 62.7% (ปี 2503) 71.6 (ปี 2543) อายุ 50-59 ปี 2.2% (ปี 2503) 5.9 (ปี 2543) ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน 15,341 แห่ง โอกาสการรับบริการสาธารณสุข ดีขึ้น สภาพที่อยู่อาศัย หลักประกันสุขภาพ 96.5% คนไทยสูบบุหรี่น้อยลง ออกกำลัง กายมากขึ้น ประชากรมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย 80.4% การดูแลเด็ก คนชรา ระบบสวัสดิการ เบี้ยยังชีพคนชรา 1.08 ล้านคน (100%) เบี้ยยังชีพคนพิการ 38,600 คน (7.2%) การขาดสารอาหารบางประเภทลดลง เล็กน้อย โดยเฉพาะไอโอดีน เหล็ก และวิตามินเอ การบริโภคที่เกินพอดี ความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน สัดส่วนคดีสูงขึ้น คดีประทุษร้ายต่อทรัพย์สิน 122 : แสนคน คดีชีวิต ร่างกาย เพศ 73.4 : แสนคน คดียาเสพติด 160 : แสนคน เด็กภาวะโภชนาการเกิน 17% ผู้ใหญ่ 40.2% เพิ่มจาก 19.1%
การกำหนดเป้าหมายย่อย/ตัวชี้วัดเพิ่มเติม (MDG Plus) เพิ่มสัดส่วนผู้หญิงใน รัฐสภา อบต. ผู้บริหาร (45-49) ลดสัดส่วนคน ยากจนเหลือ 4% เพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน 8% ให้เด็กทุกคนสำเร็จการศึกษามัธยมปลาย ลดอัตราการตาย ทารกเหลือ 15 ต่อการเกิด 1000 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 ลดอัตราการตายเด็ก (<5ปี) ในเขตพื้นที่สูง ภาคเหนือ และ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ลง 1/2 ปี 48-58 ให้เด็กทุกคนสำเร็จจบ การศึกษาระดับ ม.ต้น ลดอัตราการตายของมารดาเหลือ 18 ต่อการเกิด 100,000 จากการประเมินการบรรลุเป้าหมายที่กล่าวมาข้างต้น ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายได้เป็นส่วนใหญ่ จึงริเริ่มกำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่สอดคล้องกับบริบทการพัฒนาของประเทศไทยและท้าทายมากขึ้น โดยกำหนดเป็นเป้าหมาย MDG Plus หรือ (MDG+ targets) พร้อมนำเสนอยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว ขณะเดียวกัน ประเทศไทยมีความสนใจที่จะติดตามผลการพัฒนาในเชิงลึกมากกว่าแนวทางที่สหประชาชาติกำหนดไว้เป็นขั้นพื้นฐาน อาทิ การพิจารณาความก้าวหน้าด้านคุณภาพควบคู่กับความสำเร็จด้านปริมาณ หรือการให้ความสำคัญกับประชากรบางกลุ่มหรือพื้นที่บางแห่งที่ยังล้าหลัง ประเทศไทยจึงกำหนดตัวชี้วัด MDG Plus (MDG+ indicators) พร้อมทั้งกำหนดแนวทางการติดตามผลการพัฒนาในมิติดังกล่าว ยกตัวอย่างเช่น ประเทศไทยได้บรรลุเป้าหมาย MDG ในการลดสัดส่วนคนจนลงครึ่งหนึ่งแล้ว จึงได้กำหนดเป้าหมาย MDG+ ที่จะลดความยากจนให้ต่ำกว่าร้อยละ 4 ภายในปี 2552 ซึ่งเป็นการลดสัดส่วนความยากจนกว่าร้อยละ 80 จากปี 2533 และเนื่องจากมีแนวโน้มที่ดีว่าประเทศไทยจะบรรลุเป้าหมายการศึกษาระดับประถมศึกษาอย่างทั่วถึงในเร็ววันนี้ จึงได้กำหนดเป้าหมาย MDG+ เพื่อบรรลุการศึกษาระดับมัธยมศึกษาอย่างทั่วถึงภายในปี 2558 นอกจากนี้ ประเทศไทยมีความก้าวหน้าในการลดความไม่เท่าเทียมกันทางเพศด้านการศึกษา จึงกำหนดเป้าหมายที่จะเพิ่มสัดส่วนสตรีในรัฐสภา อบต. และตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงเป็นสองเท่าในช่วงปี 2545-2549 เป้าหมายของ MDG+ ส่วนใหญ่ มาจากเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนพัฒนาและยุทธศาสตร์ของชาติที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ลดอัตราการตายของมารดาในเขต พื้นที่สูง ภาคเหนือ และ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ลง 1/2 ปี 48-58 ลดอัตราการติดเชื้อเอชไอวีในวัยเจริญพันธุ์เหลือ 1% เพิ่มสัดส่วนการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ใหม่ 30% ลดอัตราเกิดโรคมาลาเรียใน 30 จ.ชายแดนเหลือ 1.4 ต่อ 1,000
แนวโน้มการสูบบุหรี่ในคนไทย ชาย หญิง http://thaiheart.org/pdf/29_05_03/Meta-analysis%20of%20cardiovascular%20surveys5.pdf
แนวโน้มความอ้วนในคนไทย 2534 2539 2543 http://thaiheart.org/pdf/29_05_03/Meta-analysis%20of%20cardiovascular%20surveys5.pdf
แผนฯ 10 :แผนยุทธศาสตร์ชี้นำทิศทางการพัฒนาประเทศ ประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมาและวิเคราะห์แนวโน้มสภาวะประเทศ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา บริบทการเปลี่ยนแปลงต่อการพัฒนาประเทศ พันธกิจ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยฯ พัฒนาคน ให้มีคุณภาพ คุณธรรม รอบรู้เท่าทัน ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง เทคโนโลยี สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนย้ายคนเสรี ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก 5 บริบท ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มั่นคงของประเทศ เสริมสร้างเศรษฐกิจมีคุณภาพเสถียรภาพและเป็นธรรม ดำรงความหลากหลายทางชีวภาพสร้างความมั่นคงทางฐานทรัพยากรคุณภาพสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและคุณภาพ สวล. พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศ ให้เกิดธรรมาภิบาล สถานะของประเทศ เป้าหมาย ด้านสังคม : คุณภาพการศึกษา หลักประกันสุขภาพทั่วถึง คุณธรรม-จริยธรรมลดลง เสี่ยงต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ยุทธศาสตร์การเสริมสร้าง ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ พัฒนาคุณภาพคน พัฒนาชุมชน และแก้ปัญหาความยากจน ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล ด้านชุมชน : ชุมชนมีส่วนร่วม มีแผนชุมชน มีการจัดการความรู้เพิ่มขึ้น การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา ด้านเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจโตต่อเนื่อง ฐานการผลิตหลากหลาย พึ่งพาการนำเข้าสูง คนจนลดลง ด้านสิ่งแวดล้อม : ความอุดมสมบูรณ์ระบบนิเวศน์เริ่มเสียสมดุล คุณภาพสิ่งแวดล้อม เสื่อมโทรม บทบาทภาคี ด้านธรรมาภิบาล : ภาคราชการปรับตัวทันสมัยมีประสิทธิภาพ มีการกระจายอำนาจสู่ส่วนท้องถิ่น ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น ภาครัฐ/ภาคการเมือง/ภาคเอกชน/สถาบัน/สื่อภาคชุมชนและประชาชน
หลักการทรงงาน เน้นพัฒนา “คน” เพื่อ ผลประโยชน์ของประชาชน โดย ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ยึดหลัก “ภูมิสังคม” ความหลากหลายของระบบภูมินิเวศ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ประเพณี เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เน้นการพัฒนาที่เริ่มต้นจาก “การพึ่งพาตนเอง” ดำเนินการด้วยความรอบคอบ วิเคราะห์ ระมัดระวัง “ทำตามลำดับขั้นตอน”
2. มีภูมิคุ้มกัน กินดี อยู่ดี เสริมสร้างสุขภาวะคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งกายและใจที่ดี มีความสัมพันธ์ทางสังคม และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ 2. มีภูมิคุ้มกัน กินดี อยู่ดี คนไทย มีสุขภาพแข็งแรง ทั้งกายและใจ ใช้ภูมิปัญญา/ องค์ความรู้ เสริมสร้างสุขภาวะ แนวทางการพัฒนาที่ 2 ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยฯ เป็นเรื่องการเสริมสร้างสุขภาวะคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจที่ดี มีความสัมพันธ์ทางสังคมและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ มุ่งการสร้างคนไทยให้มีการกินดี อยู่ดี มีอาหารบริโภคเพียงพอกับการดำรงชีวิต มีภูมิคุ้มกัน โดยการลด ละ เลิกพฤติกรรมเสียงต่อสุขภาพ ให้มีการออกกลังกาย เล่นกีฬา ฯลฯ รวมทั้งการนำภูมิปัญญาของไทยที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ ซึ่งจะนำสู่การมีสุขภาวะที่ดี 12
การขับเคลื่อนแผนฯ 10 สู่การปฏิบัติ การพัฒนาคุณภาพคนฯ การสร้างความเข้มแข็งชุมชนฯ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฯ การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพฯ การเสริมสร้างธรรมาภิบาลฯ กำหนดแนวทางลงทุนสำคัญตามยุทธศาสตร์แผนฯ 10 การติดตาม ประเมิน ผล พัฒนา ระบบ ข้อมูล แผนกระทรวง/เฉพาะกลุ่ม/เฉพาะประเด็น ภาครัฐ ชุมชน ภูมิภาค ครอบครัว แผนอยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ทบทวนปรับปรุง ยกร่างกฎหมาย ที่จำเป็น แผนชุมชน แนวทางดำรงวิถีชีวิตคน/ครอบครัว ศึกษาวิจัยสร้างองค์ความรู้ เชิงลึกหนุนเสริมสร้างขับเคลื่อน สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา
กรอบยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด หลักการ แผนงานหลัก เศรษฐกิจ พอเพียง พัฒนาและ สร้างโอกาส ให้ชุมชน ฟื้นฟูความ อุดมสมบูรณ์ ชุมชน สงเคราะห์ ผู้ด้อยโอกาส /ผู้สูงอายุ บริการขั้น พื้นฐาน สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ในการดำรงชีวิต/การประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร มี 3 ขั้นตอน - ผลิตเพื่ออุปโภคบริโภคในครัวเรือน - การถนอมอาหาร/การแปรรูป - พัฒนาผลิตภัณฑ์ตามศักยภาพ/ลู่ทางตลาด การอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ดิน/ป่าไม้ ตามบทเรียนจากศูนย์การศึกษาอันเนื่องจากพระราชดำริ สงเคราะห์ครอบครัวตามสภาพที่เป็นจริงและทันเหตุการณ์ ครอบคลุมการศึกษา สาธารณสุข การฝึกอาชีพ การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนเมื่อมารับบริการที่หน่วยงานรัฐระดับต่าง ๆ ยึด “คน” เป็นหลัก ชุมชน/อบต. เป็นตัวขับเคลื่อน ใช้กระบวนการ ทั้งจากล่างสู่บน และบนสู่ล่าง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการเสริมสร้างสุขภาวะคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ แนวทางการพัฒนา/ การประยุกต์ใช้ พอประมาณ ความสอดคล้องกับ หลักการ ความสอดคล้องกับ เงื่อนไข ดุลยภาพกาย-จิตใจ-สติปัญญา มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน รอบรู้ คุณธรรม ความเพียร การพัฒนาระบบสุขภาพ อย่างครบวงจร รู้กระบวนการพัฒนาสุขภาพ ยึดหลักคุณธรรม ความเพียร จิตสำนึก ดูแลรักษาและเฝ้าระวังโรค สร้างภูมิคุ้มกันสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ และมีส่วนร่วมเฝ้าระวังโรค พึ่งพาตนเอง ปรับตัวรู้เท่าทันโลก สร้างภูมิคุ้มกันแก่ครอบครัวชุมชน สังคม ประเทศ สร้างความมั่นคงด้านอาหาร ให้พอเพียงจัดการความเสี่ยง การบริโภคอาหารปลอดภัย พลิกฟื้นแหล่งอาหาร ตามธรรมชาติให้เพียงพอ กับการดำรงชีวิต ใช้ความรู้ ประสบการณ์ความเพียร ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมให้คนไทย ลด ละ เลิก พฤติกรรม สุ่มเสี่ยงทางสุขภาพ มีพฤติกรรมที่เหมาะสม สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี เกิดภูมิคุ้มกัน คนมีความรอบรู้อย่าง เท่าทัน ประพฤติตนบนฐานของคุณธรรม มีความอดทน ซื่อสัตย์ พัฒนาการแพทย์ ทางเลือกและ การแพทย์แผนไทย วิจัยและพัฒนาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างสรรค์คุณค่าด้วยภูมิปัญญาไทย ทำการวิจัย พัฒนา ต่อยอด อย่างรอบคอบ อย่างมีคุณธรรม ความเพียรเกิดประโยชน์สูงสุด
“ความอยู่เย็นเป็นสุข” ความหมาย และองค์ประกอบ “ความอยู่เย็นเป็นสุข” “ความอยู่เย็นเป็นสุข” หมายถึง สภาวะที่คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพทั้ง จิต กาย ปัญญา ที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างเป็น องค์รวม และสัมพันธ์กันได้ถูกต้องดีงาม นำไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสันติระหว่างคนกับคน และระหว่างคนกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สังคมประชาธิปไตย มีธรรมาภิบาล สุขภาพกายดี การมีจิตสำนึกประชาธิปไตย การมีสุขภาวะ 6 องค์ ประกอบ ปัจจัย พื้นฐานร่วม ในการ สร้างสุข สุขภาพจิตดี สังคมที่มีธรรมาภิบาล คิดเป็นทำเป็น ความสมานฉันท์ทางสังคม สภาพแวดล้อมดีระบบนิเวศสมดุล ปัจจัยพื้นฐานการดำรงชีวิต การมีสัมมาชีพ เศรษฐกิจเป็นธรรมเข้มแข็ง เศรษฐกิจเข้มแข็ง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ คุณภาพสิ่งแวดล้อมดี ระบบนิเวศสมดุล บทบาทครอบครัวที่เหมาะสม ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนพึ่งตนเอง ชุมชนเข้มแข็ง ชุมชนเกื้อกูลกัน สัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว การมีส่วนร่วม
1 ความหมาย ในแต่ละองค์ประกอบ และองค์ประกอบย่อย การมีสุขภาวะ ความหมาย ในแต่ละองค์ประกอบ และองค์ประกอบย่อย 1 การมีสุขภาวะ มีร่างกายแข็งแรงไม่เจ็บป่วย มีอายุยืนยาว มีสุขภาพจิตใจที่ดี ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม คิดเป็น ทำเป็น มีความเป็นเหตุเป็นผล มีทักษะในการใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข สร้างสรรค์ประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัวและสังคมได้อย่างเต็มศักยภาพ มีร่ายกายแข็งแรง ภาวะโภชนาการดี มีพฤติกรรมดำรงชีวิตที่เหมาะสม ส่งผลให้ห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บมีอายุยืนยาว ร่างกายแข็งแรง สุขภาพกายดี อายุยืนยาว รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเอง มีความเข้าใจผู้อื่น มีจิตดีงาม มีคุณธรรมจริยธรรม เข้าใจในสรรพสิ่งที่เป็นจริง ส่งผลให้ปัจเจกบุคคลมีความสุข มีความรักต่อเพื่อนมนุษย์ ชุมชน สังคม ไม่เจ็บป่วยทางจิต สุขภาพจิตดี มีคุณธรรม ความสามารถใน การเรียนรู้ การศึกษาทำให้เกิดการเรียนรู้ มีความใฝ่รู้ รับรู้ข้อมูลข่าวสาร มีความรู้เท่าทัน ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง สามารถใช้ประสบการณ์ ศักยภาพ ทักษะความสามารถของตนให้เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติภารกิจได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ คิดเป็นทำเป็น คุณภาพการเรียนรู้ การรับรู้ข่าวสาร (ใฝ่เรียนรู้)