เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
สื่อการสอน เรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ระคน
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
เงิน.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
1 2 ตามลักษณะ เศรษฐกิจ งบประมา ณ ตาม พ. ร. บ. ( ล้าน บาท ) ได้รับ จัดสรร ( ล้าน บาท ) เบิกจ่าย ร้อย ละ / งบ จัดสร ร สำนัก ชลประทานที่ 13 1,164,64 0,305.
ผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 2555 ฎีกา 1 –64 31 มกราคม 2555
โดย...นางสาวทิพวรรณ สืบสมบัติ
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
จับคู่ ,000 PV 2 5 เรา.
Mathematics Money
เรื่อง การคิดวิเคราะห์ โดย นางโสภาพรรณ ชื่นทองคำ โรงเรียนบ้านสันกำแพง
การดำเนินการ เศษส่วน โดยนางสาวอรวรรณ สวัสดิ์ โรงเรียนวัดหาดส้มแป้น
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ระบบเลขฐานต่าง ๆ By ครูนภาพร.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำข้อมูลเพื่อการปรับเงินเดือนตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำหนด (ที่ ศธ / ว 21 ลงวันที่ 13 ธ.ค. 2556) ดร.เสงี่ยม ทองละมุล.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ผลงานส่วนการ คลัง ประจำปี งบประมาณ รายรับตามประมาณการ รายรับ ประมาณการ รายรับจริง สูง ต่ำ ภาษีอากร 1,050, , ,00.93 ค่าธรรมเนียม.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
แบบรูปรายการก่อสร้าง สำหรับปีงบประมาณ 2558
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
มูลค่าคำขอรับการส่งเสริมในเดือน ม. ค. 56 เพิ่มขึ้น 2 %
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
วาระที่ รายงานภาวการณ์ลงทุนในช่วง 5 เดือนแรก ปี 2556.
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ในการเลื่อนเงินเดือน
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
การกำหนดอัตราเงินเดือน สำหรับคุณวุฒิที่ ก.พ.รับรอง
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ เรื่อง การคูณ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ โรงเรียนอนุชนวัฒนา ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์

คำชี้แจงบทเรียน -ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน -ศึกษาเนื้อหาจากบทเรียน ซึ่งประกอบไปด้วย **การคูณจำนวนที่มีสองหลักกับจำนวนที่มีสองหลัก **การคูณจำนวนที่มีสามหลักกับจำนวนที่มีสองหลัก **การคูณจำนวนที่มีสามหลักกับจำนวนที่มีสามหลัก **การคูณจำนวนที่มีสี่หลักกับจำนวนที่มีสามหลัก **โจทย์ปัญหาและการแสดงวิธีทำ -ทำใบงาน -ทำแบบทดสอบหลังเรียน

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.สามารถคูณจำนวนนับและศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ 2.สามารถวิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาของจำนวนนับและศูนย์พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ และสร้างโจทย์ได้

การคูณ 245 X 16 433 X 186 11,250 X 4 20,655 X 1,250

แบบทดสอบก่อนเรียน 1.ผลลัพธ์ของ 284 x 5 มีค่ามากกว่าข้อใด ก.1,410 ข.1,420 ค.1,430 ง.1,440 2. หมูราคากิโลกรัมละ 120 บาท ซื้อมา 5 กิโลกรัม ต้องจ่ายเงินเท่าไร ก. 610 บาท ข. 601 บาท ค. 600 บาท ง. 620 บาท 3.ผลลัพธ์ของ 48x 20 มีค่าน้อยกว่าข้อใด ก. 970 ข. 960 ค. 950 ง. 940 4.มีส้ม 30 ลัง ลังละ49 ผล มีส้มทั้งหมดกี่ผล ก. 1,400 ผล ข. 1,470 ผล ค. 1,500 ผล ง. 1,570 ผล 5. 450 x 25 ผลลัพธ์ต่างจาก 620 x 25 อยู่เท่าไร ก.1,920 ข. 1,930 ค. 1,940 ง. 1,950 6.มีนก 251 กรง กรงละ 20 ตัว มีนกนทั้งหมดกี่ตัว ก. 5,020 ตัว ข. 5,120 ตัว ค. 5,220 ตัว ง. 5,320 ตัว 7. 452 x 260 มีค่าเท่ากับข้อใด ก. 127,520 ข.116,502 ค.117,520 ง.115,520 8.มีเงาะ 250 ลัง ลังละ 125 ผล มีเงาะทั้งหมดกี่ผล ก. 31,150 ผล ข. 32,250 ผล ค. 31,250 ผล ง. 30,250 ผล 9. 2,150 x 1,255 มีค่าเท่ากับข้อใด ก.2,698,250 ข.2,598,250 ค.2,098,250 ง.2,498,250 10. 1,550 x 1,220 มีค่าเท่ากับข้อใด ก. 1,890,000 ข. 1,891,000 ค, 1,870,000 ง. 1,892,000

วิเคราะห์โจทย์ เขียนประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีทำ วิเคราะห์โจทย์ เขียนประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีทำ 1. ขวดโหลหนึ่งใบบรรจุลูกกวาดขนาดเดียวกันได้ 650 เม็ด ถ้ามีขวดโหลขนาดเท่าๆกัน 125 ใบ จะบรรจุลูกกวาดได้ทั้งหมดกี่เม็ด วิเคราะห์โจทย์ สิ่งที่โจทย์กำหนด 1.....................................................2..................................................................... สิ่งที่โจทย์ถาม .................................................................................................................................. หาคำตอบด้วยวิธีการ.................................................... เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์............................................................................................................... วิธีทำ .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ตอบ ....................................................................................................................................................

1.การคูณจำนวนที่มีสองหลักกับจำนวนที่มีสองหลัก การคูณจำนวนที่มีสองหลัก 2 จำนวน ให้นำตัวคูณในหลักหน่วยคูณกับทุกหลักของตัวตั้ง และนำตัวคูณในหลักสิบคูณทุกหลักของตัวตั้ง แล้วนำผลคูณมาบวกกัน

หาผลคูณของ 25 x 68 = ขั้นที่ 1 ใช้ตัวเลขในหลักหน่วยเป็นตัวคูณ ขั้นที่ 1 ใช้ตัวเลขในหลักหน่วยเป็นตัวคูณ 2 5 6 8 2 0 0 ขั้นที่ 2 ใช้ตัวเลขในหลักสิบเป็นตัวคูณ 1 5 0 0 ขั้นที่ 3 นำผลคูณที่ได้ในขั้นที่ 1 และ 2 มาบวกกัน 2 5 6 8 2 0 0 1 5 0 0 1 7 0 0 ดังนั้น 25 x 68 = 1,700 ตอบ ๑,๗๐๐ x x 8 x 25 8 x 25 60 x 25 x 200 x 1,500 8 x 25 60 x 25

2.การคูณจำนวนที่มีสามหลักกับจำนวนที่มีสองหลัก ทำได้โดยนำจำนวนที่มีสามหลักเป็นตัวตั้ง และจำนวนที่มีสองหลักเป็นตัวคูณ โดยคูณจำนวนในหลักหน่วยของตัวตั้งก่อน แล้วจึงคูณจำนวนในหลักถัดไปทางซ้ายมือของตัวตั้งตามลำดับ

หาผลคูณของ 159 x 32 = ขั้นที่ 1 ใช้ตัวเลขในหลักหน่วยเป็นตัวคูณ ขั้นที่ 1 ใช้ตัวเลขในหลักหน่วยเป็นตัวคูณ 1 5 9 3 2 3 1 8 ขั้นที่ 2 ใช้ตัวเลขในหลักสิบเป็นตัวคูณ 4 7 7 0 ขั้นที่ 3 นำผลคูณที่ได้ในขั้นที่ 1 และ 2 มาบวกกัน 1 5 9 3 2 3 1 8 4 7 7 0 5 0 8 8 ดังนั้น 159 x 32 = 5,088 ตอบ ๕,๐๘๘ x x 2 x 159 2 x 159 30 x 159 x 318 + 4770 = 5088 2 x 159 30 x 159

3.การคูณจำนวนที่มีสามหลักกับจำนวนที่มีสามหลัก ทำได้โดยจำตัวเลขจำนวนหนึ่งเป็นตัวตั้ง และอีกจำนวนหนึ่งเป็นตัวคูณ โดยคูณจำนวน ในหลักหน่วย ของตัวตั้งก่อน แล้วจึงคูณจำนวนในหลักถัดไปทางซ้ายมือ ของตัวตั้งตามลำดับ

หาผลคูณของ 284 x 159 = ขั้นที่ 1 ใช้ตัวเลขในหลักหน่วยเป็นตัวคูณ ขั้นที่ 1 ใช้ตัวเลขในหลักหน่วยเป็นตัวคูณ 2 8 4 1 5 9 2 5 5 6 ขั้นที่ 2 ใช้ตัวเลขในหลักสิบเป็นตัวคูณ 1 4 2 0 0 ขั้นที่ 3 ใช้ตัวเลขหลักร้อยเป็นตัวคูณ 2 8 4 1 5 9 2 5 5 6 1 4 2 0 0 2 8 4 0 0 x x 9 x 284 9 x 284 50 x 284 100 x 284 9 x 284 50 x 284

ขั้นที่ 4 นำผลคูณที่ได้ในขั้นที่ 1,2 และ 3 มาบวกกัน 2 8 4 1 5 9 ขั้นที่ 4 นำผลคูณที่ได้ในขั้นที่ 1,2 และ 3 มาบวกกัน 2 8 4 1 5 9 2 5 5 6 1 4 2 0 0 2 8 4 0 0 4 5 1 5 6 ตอบ ๔,๕๑๕๖ x 9 x 284 50 x 284 100 x 284 2,556 + 14,200 + 28,400

4.การคูณจำนวนที่มีสี่หลักกับจำนวนที่มีสามหลัก การคูณจำนวนที่มีสี่หลักหลักกับจำนวนที่มีสามหลัก ทำได้โดยนำจำนวนที่มีสี่หลักเป็นตัวตั้ง และนำจำนวนที่มีสามหลักเป็นตัวคูณ โดยคูณจำนวน ในหลักหน่วยของตัวตั้งก่อน แล้วจึงคูณจำนวนในหลักถัดไป ทางซ้ายมือของตัวตั้งตามลำดับ

ตัวอย่าง 3,568  1,924 =  3 5 6 8 คำอธิบาย 1. นำ 4  3,568 = 14,272 2. นำ 20  3,568 = 71,360 3. นำ 900  3,568 = 3,211,200 4. นำ 1,000  3,568 = 3,568,000 5.บวกผลคูณเข้าด้วยกัน 14,272 + 71,360 + 3,211,200 + 3,568,000 = 6,864,832  1 9 2 4 1 4 2 7 2 7 1 3 6 0 3 2 1 1 2 0 0 3 5 6 8 0 0 0 6 8 6 4 8 3 2

2. โจทย์ปัญหาการคูณ ซื้อกางเกงราคาโหลละ 10,200 บาท ซื้อมา 3 โหล คิดเป็นเงินกี่บาท วิเคราะห์โจทย์ สิ่งที่โจทย์กำหนด 1. ราคากางเกงโหลละ 10,200 บาท 2. ซื้อมา 3 โหล สิ่งที่โจทย์ถาม คิดเป็นเงินกี่บาท หาคำตอบด้วยวิธีการ คูณ () ประโยคสัญลักษณ์ 10,200  3 =  วิธีทำ ซื้อกางเกงราคาโหลละ 10,200 บาท ซื้อมา 3 โหล คิดเป็นเงิน 30,600 บาท วิธีการหาคำตอบโจทย์ปัญหา เริ่มจากการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา วางแผนการแก้โจทย์ปัญหา โดยการเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ และหาคำตอบ  ตอบ ๓๐,๖๐๐ บาท

แบบทดสอบหลังเรียน 1.จับคู่โจทย์การคูณกับผลคูณให้ถูกต้อง 1) 22  44 =  1) 22  44 =  ก. 1,026 2) 18  57 =  ข. 735 3) 35  21 =  ค. 968 2.จงหาผลคูณ 1) 22  44 =  5) 43,001  2 =  9) 571  372 =  6) 23,106  7 =  10) 769  287 =  2) 28  43 =  7) 379  63 =  11) 1,125  1,252 =  3) 72  54 =  8) 694  32 =  12) 129,070  42,500 =  4) 93  19 = 

วิเคราะห์โจทย์ เขียนประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีทำ วิเคราะห์โจทย์ เขียนประโยคสัญลักษณ์ แสดงวิธีทำ 1. ขวดโหลหนึ่งใบบรรจุลูกกวาดขนาดเดียวกันได้ 650 เม็ด ถ้ามีขวดโหลขนาดเท่าๆกัน 125 ใบ จะบรรจุลูกกวาดได้ทั้งหมดกี่เม็ด วิเคราะห์โจทย์ สิ่งที่โจทย์กำหนด 1.....................................................2..................................................................... สิ่งที่โจทย์ถาม .................................................................................................................................. หาคำตอบด้วยวิธีการ.................................................... เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์............................................................................................................... วิธีทำ .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ตอบ ....................................................................................................................................................