หน่วยที่ 4.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
รายงานการวิจัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
การออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การประเมินผลการเรียน
สื่อการเรียนการสอน.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
หน่วย การเรียนรู้.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การออกแบบสร้างนวัตกรรม สำหรับการวิจัยในชั้นเรียน
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การพัฒนาApplication บนระบบปฏิบัติการ Android
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ADDIE Model.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
การศึกษาผลการสอนด้วยวิธีการแบบ บูรณาการ ระหว่างการสอนแบบ CIPPA MODELกับการสอนแบบ MAIP รายวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ.
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 4

สาระสำคัญ แผนการจัดการเรียนรู้ ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือสำคัญ ที่จะนำทางครูผู้สอนไปสู่เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉะนั้น เมื่อครูนำแท็บเล็ต เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนนั้น ครูจึงควรปรับปรุงและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับการนำแท็บเล็ตมาใช้

จุดประสงค์ สามารถวิเคราะห์สื่อ/Apps เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม เลือกวิธีการใช้แท็บเล็ตในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม วางแผนพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ประยุกต์ ใช้ แท็บเล็ตได้

เนื้อหา การเตรียมความพร้อมเพื่อใช้แท็บเล็ต ในห้องเรียน วิเคราะห์สื่อ/Apps เพื่อการนำมาใช้ในชั้นเรียน วางแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้แท็บเล็ต การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ประยุกต์ใช้แท็บเล็ต

สื่อ-อุปกรณ์ PPT นำเสนอ เรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อใช้แท็บเล็ตในห้องเรียน สื่อจากแท็บเล็ตหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งแวดล้อมรอบตัว ใบงานตามกิจกรรม (ในคู่มือ ) ตัวอย่าง Apps เช่น Picsart

ความสำคัญของแท็บเล็ตในการจัดกิจกรรมในการเรียนการสอน สนองต่อความเป็นเอกัตบุคคล ( Individualization ) เป็นสื่อที่สนองต่อความสามารถในการ ปรับตัวเข้ากับความต้องการทางการเรียนรู้ของรายบุคคล ซึ่งความเป็นเอกัตภาพนั้นจะมีความต้องการในการติดตามช่วยเหลือเพื่อให้ผู้เรียนหรือผู้ใช้บรรลุผลและมีความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ตามที่เขาต้องการ สนองต่อความเป็นเอกัตบุคคล ( Individualization )

เป็นสื่อที่ก่อให้เกิดการสร้างปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมาย ( Meaningful Interactivity ) ปัจจุบันการเรียนรู้ที่กระบวนการเรียนต้องมีความกระตือรือร้นจากการใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศและการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันจากสภาพทางบริบทของสังคมโลกที่เป็นจริง บางครั้งต้องอาศัยการจำลองสถานการณ์เพื่อการเรียนรู้และการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งสถานการณ์ต่างๆเหล่านี้สื่อแท็บเล็ตจะมีศักยภาพสูงในการช่วยผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบมีปฏิสัมพันธ์ได

เกิดการแบ่งปันประสบการณ์ ( Shared Experience ) แบ่งปันประสบการณ์ความรู้ซึ่งกันและกันจากช่องทางการสื่อสารเรียนรู้หลากหลายช่องทาง เป็นลักษณะของการประยุกต์การเรียนรู้ร่วมกันของบุคลในการสื่อสารหรือสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพ

มีการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่ชัดเจนและยืดหยุ่น ( Flexible and Clear CourseDesign ) Design ) ในการเรียนรู้จากสื่อแท็บเล็ตนี้จะมีการออกแบบเนื้อหา หรือหน่วยการเรียนรู้ที่เสริมสร้างหรืออ านวยความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเกิดการพัฒนาทางสติปัญญา อารมณ์ความรู้สึก ซึ่งการสร้างหน่วยการเรียนรู้ต้องอยู่บนพื้นฐานและหลักการที่สามารถปรับยืดหยุ่นได้ ภายใต้วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ชัดเจนซึ่งตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ในเชิงเนื้อหาได้แก่การเรียนจาก e-Book เป็นต้น

ให้การสะท้อนผลต่อผู้เรียน/ผู้ใช้ได้ดี ( Learner Reflection ) ช่วยสะท้อนผลความก้าวหน้าทางการเรียนรู้จากเนื้อหาที่เรียน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับปรุงตนเองในการเรียนรู้เนื้อหาสาระ และสามารถประเมินและประยุกต์เนื้อหาได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

สนองต่อคุณภาพด้านข้อมูลสารสนเทศ ( Quality Information ) ประสิทธิภาพค่อนข้างสูงต่อผู้เรียนหรือผู้ใช้ในการเข้าถึงเนื้อหาสาระของข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพ ซึ่งข้อมูลเชิงคุณภาพจะเป็นค าตอบที่ชัดเจนถูกต้องในการก าหนดมโนทัศน์ที่ดี อย่างไรก็ตามการได้มาซึ่งข้อมูลเชิงคุณภาพ ( Quality ) ย่อมต้องอาศัยข้อมูลในเชิงปริมาณ ( Quantity ) เป็นองค์ประกอบส าคัญที่ต้องมีการจัดเก็บรวบรวมไว้ให้เพียงพอและถูกต้องสมบูรณ์

การเตรียมความพร้อมเพื่อใช้แท็บเล็ตในห้องเรียน การจัดสภาพแวดล้อม/ห้องเรียนที่เหมาะสม ใบความรู้ที่ 4

การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้สำหรับการประยุกต์ใช้แท็บเล็ต ในชั้นเรียน ควรมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เฉพาะเจาะจง โดยปรับบางกิจกรรรม ให้สอดคล้องกับลักษณะการใช้แท็บเล็ตในชั้นเรียน

ควรเลือกใช้ Apps ที่เหมาะสมกับบทเรียน หรือเชื่อมโยงไปยัง Apps ของสำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

แผนการจัดการเรียนรู้ไม่จำเป็นต้องใช้แท็บเล็ตทุกชั่วโมง ทั้งชั่วโมง หรือทุกวิชา

ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ไม่จำเป็นต้องใช้แท็บเล็ตเพียงอย่างเดียว ควรใช้สื่ออื่น ๆ ที่หลากหลาย เช่น ใบงาน แบบฝึก รูปภาพ เป็นต้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควรเน้นกระบวนการคิด

ใบความรู้ที่ 4.2 เรื่อง วิเคราะห์สื่อ/Apps เพื่อการนำมาใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ร่วมกับแท็บเล็ต

กิจกรรมที่ 1 การใช้แท็บเล็ต ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน กิจกรรมที่ 1 การใช้แท็บเล็ต ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ให้ผู้เข้ารับการอบรม วิเคราะห์ สื่อ/Apps ที่บันทึกอยู่ในแท็บเล็ต เลือกเรื่องที่เห็นว่าเหมาะแก่การนำไปใช้ในขั้นตอน นำเข้าสู่บทเรียน ในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง แล้วบันทึกรายละเอียดลงในแบบบันทึก

กิจกรรมที่ 2 การใช้แท็บเล็ต ขั้นกิจกรรมระหว่างเรียน กิจกรรมที่ 2 การใช้แท็บเล็ต ขั้นกิจกรรมระหว่างเรียน ให้ผู้เข้ารับการอบรม วิเคราะห์ สื่อ/Apps ที่บันทึกอยู่ในแท็บเล็ต เลือกเรื่องที่เห็นว่าเหมาะแก่การนำไปใช้ในขั้นตอน กิจกรรมระหว่างเรียน ในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง แล้วบันทึกรายละเอียดลงในแบบบันทึก

กิจกรรมที่ 3 การใช้แท็บเล็ต ขั้นสรุป ให้ผู้เข้ารับการอบรม วิเคราะห์ สื่อ/Apps ที่บันทึกอยู่ในแท็บเล็ต เลือกเรื่องที่เห็นว่าเหมาะแก่การนำไปใช้ในขั้นตอน สรุปบทเรียน ในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง แล้วบันทึกรายละเอียดลงในแบบบันทึก

เรื่อง การวางแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้แท็บเล็ต ใบความรู้ที่ 4.3 เรื่อง การวางแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้แท็บเล็ต ตารางมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อจากแท็บเล็ต - กระบวนการสืบสวนสอบสวน - กระบวนการกลุ่ม - วิธีสอนแบบ CIPPA Model กระบวนการเรียนรู้หลัก กระบวนการเรียนรู้บูรณาการ

สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา กำหนดเป้าหมายและหลักฐานการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เป้าหมายการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา หลักฐานการเรียนรู้

ข้อเสนอแนะเพื่อการเรียนแท็บเล็ตไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เข้าใจระบบการทำงานของแท็บเล็ต มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่มีอยู่ในแท็บเล็ต