หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. ( OBEC AWARDS)
Advertisements

การพูด.
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2549
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 นาฏศิลป์ในท้องถิ่น
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
 การสอนแบบอภิปราย.
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
พัฒนาการด้านสังคมของเด็ก
การสื่อสารเพื่อการบริการ
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
บทบาท หน้าที่ของบุคคลที่เกี่ยวกข้องกับการสัมมนา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
บทบาทของประธานกลุ่ม ประธานกลุ่มของสหกรณ์ นับเป็นผู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสหกรณ์ เพราะเป็นผู้อยู่ใกล้ชิดกับสมาชิกในกลุ่ม เป็นผู้รู้ปัญหาและความต้องการของสมาชิกได้เป็นอย่างดี
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
“เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ” ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
แนวทางการก้าวสู่การเป็น
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ผู้เป็นแกนบุญของชุมชน
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ความหมายของการวิจารณ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
บทบาทสมมติ (Role Playing)
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
BEST PRATICES การจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัยที่ดี “ อนุบาลน้อย
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
ความหมายของการวิจารณ์
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น. ในช่วงของวัยรุ่น การคบเพื่อนเป็นสิ่ง สำคัญและจำเป็นอย่าง ยิ่งสำหรับชีวิต เพราะ การมีเพื่อนจะช่วยให้ วัยรุ่นมีความรู้สึกว่า.
วาทนิเทศและเทคนิคการนำเสนอ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
“หนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน” 921 โรงเรียน
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง จัดทำโดย ครูเสาวภาคย์ ณ ร้อยเอ็ด โรงเรียนอนุบาลอุตรดิตถ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1

นักแสดง คือ ผู้ที่สวมบทบาทเป็นตัวละคร เพื่อ ถ่ายทอดเรื่องราวและความคิดในบทละครให้ผู้ชม ได้รับรู้ ซึ่งการปฏิบัติตนเป็นนักแสดงที่ดีนั้น จะต้องตระหนักถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อ อาชีพของตนและผู้ชม รวมถึงผู้ร่วมงานทุกฝ่าย เพราะถ้าไม่ตั้งใจแสดงให้ดีก็เท่ากับเป็นการทำลาย ผลงานของผู้สร้างสรรค์ที่ร่วมทำงานกับเราให้ เสียหาย รวมทั้งเป็นการทำลาย ความศรัทธาของผู้ชม และต้องรู้จัก แสวงหาความรู้เพื่อพัฒนารูปแบบ การแสดง เพื่อที่จะได้เป็นนักแสดง ที่มีคุณภาพ

นักแสดงที่เราเห็นในปัจจุบันตามละครโทรทัศน์ นั้นถือเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการโน้มน้าว อารมณ์และความคิดผู้ชมเป็นอย่างมาก เห็นได้ จากวัยรุ่นสมัยนี้จะมีพฤติกรรมและค่านิยมต่าง ๆ เลียนแบบนักแสดงที่ตนเองชื่นชอบ ดังนั้น นักแสดงจะต้องประพฤติและปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีต่อผู้ชม เช่น มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ของตน รู้จักนอบน้อมผู้ใหญ่ ไม่ทำให้ตนเองและผู้อื่น เดือดร้อน เป็นต้น

ผู้ชม คือ องค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของการ จัดการแสดงต่าง ๆ เพราะถ้าขาดผู้ชม การแสดง ต่าง ๆ ที่จัดขึ้นก็จะไม่มีความหมาย เพราะผู้ชม จะบอกให้ผู้สร้างสรรค์และนักแสดงรู้ว่าการแสดง ที่จัดขึ้นนั้นดีหรือไม่ อย่างไร และสิ่งที่ผู้ชมควร ปฏิบัติคือมีมารยาทที่ดีในการชมการแสดง เช่น การชมการแสดงด้วยความตั้งใจ ไม่พูดคุยหรืส่ง เสียงดังขณะชมการแสดง ไม่ส่งเสียง โห่ร้องเมื่อไม่ชอบใจการแสดงที่นักแสดง กำลังแสดง และควรให้เกียรติผู้แสดงโดย การปรบมือให้นักแสดงเริ่มและเมื่อจบ การแสดง เป็นต้น

การวิจารณ์การแสดง 1. ผู้วิจารณ์จะต้องมีความเที่ยงตรง ไม่มีอคติกับนักแสดง และมีเหตุผลในการรองรับข้อติที่ตนเองกล่าวด้วย 2. การวิจารณ์จะพิจารณาถึงคุณค่าการแสดงของนักแสดง คือ บทบาทการแสดงที่สมจริงและเป็นธรรมชาติ ไหวพริบปฏิภาณที่ดีเวลาแสดงหรือไม่ และมีจังหวะการพูด การเคลื่อนไหวร่างกายที่ดีหรือไม่ มีการเปล่งวาจาด้วยคำพูดที่ชัดเจน ถูกต้อง และใช้น้ำเสียงได้สัมพันธ์กับอารมณ์ ความรู้สึกที่แสดงออก และเหมาะสมกับวัยของตัวละคร มีความคุ้นเคยกับฉาก อุปกรณ์ประกอบการแสดงและเครื่องแต่งกาย 3. ให้เกียรตินักแสดงด้วยกัน และความร่วมมือความสนใจที่จะทำให้ละครที่ตนแสดงออกมาอย่างความสมบูรณ์

การจัดการแสดงไม่ว่าจะเป็นการแสดงระบำ รำ ฟ้อน ละคร โขน ในสถาบันการศึกษาจะมีการจัดแบ่งหน้าที่ หรือผู้รับผิดชอบออกเป็น 3 ฝ่าย คือ 1) ฝ่ายอำนวยการแสดง ได้แก่ ผู้อำนวยการแสดง ผู้กำกับการแสดง ผู้กำกับเวที คือ ผู้ช่วยผู้กำกับเวที 2) ฝ่ายจัดการแสดง ได้แก่ คณะกรรมการพิจารณาการแสดง ผู้ดูแลด้านเทคนิค ผู้ดูแลเครื่องแต่งกาย ผู้ดูแลบทเพลงและดนตรี 3) ฝ่ายธุรการ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ประสานงาน เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก เจ้าหน้าที่สวัสดิการ ผู้รับผิดชอบสถานที่

การดำเนินงานในการจัดการแสดง จะเริ่มจาก 1) การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในฝ่ายต่าง ๆ 2) การคัดเลือกนักแสดง 3) ผู้กำกับการแสดงเรียกประชุม 4) จัดประชุมเพื่อติดตามการทำงานของทุกฝ่าย 5) ฝึกซ้อมการแสดง 6) การจัดการแสดงจริง 7) สรุปและประเมินผลการจัดการแสดง

ชุดการแสดงรูปแบบต่างๆ ภาพตัวอย่าง ชุดการแสดงรูปแบบต่างๆ

เซิ้งแหย่ไข่มดแดง

ให้เป็นแบบอย่างที่ดี 1. นักเรียนคิดว่านักแสดงควรปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคมอย่างไร นักเรียนคิดว่า นักแสดงควรปฏิบัติตน ให้เป็นแบบอย่างที่ดี ต่อสังคมอย่างไร?

นักแสดงที่นักเรียนชื่นชอบ ให้เป็นแบบอย่างที่ดี 1. นักเรียนคิดว่านักแสดงควรปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีต่อสังคมอย่างไร ยกตัวอย่าง นักแสดงที่นักเรียนชื่นชอบ ซึ่งปฏิบัติตน ให้เป็นแบบอย่างที่ดี ต่อสังคมมา 1 คน

สวัสดี