นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Grade A Garment This template can be used as a starter file for a photo album.
Advertisements

ค่าของทุน The Cost of Capital
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
Max - (u’ s+ v’ e) w.r.t.  Y  - Y = s (output slack) X – X  i = e (excess input)
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
การใช้โปรแกรม Hospital Cost Analysis (พัฒนาโดย รศ.นพ.กำจร ตติยกวี)
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังจังหวัดกระบี่
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
(Sensitivity Analysis)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ผลกระทบของราคากลาง กรมบัญชีกลาง
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 8 ระบบบัญชีสินทรัพย์ถาวร
ระบบบัญชีเดี่ยว.
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
Analyzing The Business Case
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
COP เรื่องต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตของงานซักฟอก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
4.6 การคำนวณต้นทุนของส่วนราชการ วัตถุประสงค์ ส่วนราชการสามารถคำนวณต้นทุนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นมาตรฐานเดียวกัน เปรียบเทียบต้นทุนกันได้ในระหว่างหน่วยงาน.
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
เปรียบเทียบดัชนีชี้วัด ปีงบประมาณ
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
มุมมอง ผู้เยี่ยมสำรวจ fulltime
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ต้นทุนการผลิต.
ซอฟท์แวร์บริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
Assessment and Evaluation System
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
ตัวชี้วัด 2 รายงานกิจกรรม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง.
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Change Management.
จากแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สู่การพัฒนางานเภสัชกรรม
กิจกรรมสนับสนุน กิจกรรมสนับสนุน การบริหาร กิจกรรมสนับสนุน วิชาการ กิจกรรมหลัก วิจัย บริการวิชาการ / รักษาพยาบาล จัดการเรียนการสอน ทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม.
การวิเคราะห์อัตรากำลัง สายงานพยาบาล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เปรียบเทียบต้นทุนต่อหน่วย โรงพยาบาลในเขตบริการสุขภาพที่ 1 ปี 2556
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย การวิเคราะห์ต้นทุน นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย

ต้นทุนโรงพยาบาล(Hospital Cost) ประกอบด้วย ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอก บาทต่อครั้ง ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยใน บาทต่อคน ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยใน บาทต่อวันนอน

ทัศนะของการประเมินต้นทุน 1. ต้นทุนในทัศนะของผู้ให้บริการ (Provider) ได้แก่ ค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าลงทุน 2. ต้นทุนในทัศนะของผู้ป่วย (Patient) ได้แก่ค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยต้องจ่ายในการมารับบริการ ค่าใช้จ่ายที่เป็นผลจากการเจ็บป่วย เช่น การขาดงาน 3. ต้นทุนในทัศนะของสังคม (Society)ได้แก่ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเป็นผลกระทบต่อสังคม เช่น การทำลายสิ่งแวดล้อม การเสียโอกาสทางสังคม

ประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุน ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด และมิติต่างๆได้อย่างรวดเร็ว ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ จากการเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่จะได้ ใช้คำนวณอัตราคืนทุน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายว่า กิจกรรมใด ควรมีอัตราคืนทุนเท่าไรจึงจะเหมาะสม

ส่วนประกอบของต้นทุน ต้นทุน (Total direct cost:TDC)ประกอบด้วย 1.ค่าแรง (Labor Cost:LC) 2.ค่าวัสดุ(Material Cost: MC) 3.ค่าลงทุน (Capital Cost: CC)

Cost components Operating cost Labor Cost Material Cost (LC) (MC) Total Direct Cost (TDC) Labor Cost (LC) Material Cost (MC) Capital Cost (CC) Operating cost

ต้นทุนชนิดต่างๆ ต้นทุนทางตรง (Direct Cost) ต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost) ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) ต้นทุนที่สัมผัสไม่ได้ (Intangible Cost) ต้นทุนดำเนินการ (Operating Cost) : LC+MC

วิธีวิเคราะห์ต้นทุน Cost Centre Approach Activity Approach การคำนวณต้นทุนทางลัด

ขั้นตอนการวิเคราะห์ต้นทุน 1.วิเคราะห์โครงสร้างระบบงาน (System Analysis) 2.ศึกษาต้นทุนรวมโดยตรง (Total Direct Cost) 3.กระจายต้นทุนไปสู่หน่วยต้นทุนสุดท้าย (Cost Allocation) 4.คำนวณหาต้นทุนทั้งหมด (Full cost) 5.คำนวณหาต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost)

วิเคราะห์โครงสร้างระบบงาน (System Analysis) กำหนดหน่วยต้นทุน(Cost Centre) แบ่งเป็น 1.หน่วยต้นทุนที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-revenue producing cost center : NRPCC) 2.หน่วยต้นทุนที่ก่อให้เกิดรายได้ (Revenue producing cost center : RPCC) 3.หน่วยงานที่บริการผู้ป่วยโดยตรง (Patient service area : PS) 4.หน่วยงานที่ให้บริการอื่นๆ (Non-patient service area : NPS)

Total direct cost Total direct cost = LC +MC+CC ค่าแรง (Labor Cost:LC) ค่าวัสดุ(Material Cost: MC)

Capital Cost ค่าลงทุน (Capital Cost: CC) หมายถึง ต้นทุนค่าเสื่อมราคาประจำปี (Depreciation Cost) ต้นทุนค่าเสื่อมราคา = ราคาซื้อเมื่อเริ่มต้น – ราคาซาก อายุการใช้งาน(ปี)

การคำนวณต้นทุนทั้งหมด (Full Cost) TDC of NRPCC and RPCC Allocation method Allocation factor Indirect cost from NRPCC Indirect cost from RPCC TDC of PS , NPS Routine service cost (RSC) Medical care cost (MCC) Full cost

ตัวอย่างการกระจายต้นทุน ฝ่ายบริหารทั่วไป ห้องยา โรงครัว OPD IPD ผู้ป่วย ผู้ป่วย

Cost Allocation and Distribution 1. Direct Distribution Method 2. Step –Down Method 3. Double Distribution Method 4. Multiple Distribution Method 5. Simultaneous Equations Method

ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) = ต้นทุนทั้งหมดของแผนกบริการผู้ป่วย จำนวนหน่วยบริการ

การวิเคราะห์ต้นทุนที่สถานบริการปฐมภูมิ ใช้กิจกรรมเป็นหลัก (Activity Approach) โดยกำหนดให้กิจกรรมเป็นเหมือนหน่วยต้นทุน ต้องกระจายต้นทุนจากกิจกรรมที่สนับสนุนกิจกรรมบริการในสถานบริการ เช่น งานบริหาร ไปยังกิจกรรมบริการ การกระจายใช้สัดส่วนของต้นทุนของแต่ละกิจกรรม(ยกเว้นกิจกรรมสนับสนุน) เทียบกับต้นทุนทั้งหมด

การคำนวณต้นทุนทางลัด เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี ค่าแรง: ค่าแรงที่ควบคุมได้ , ค่าแรงที่ควบคุมไม่ได้ ค่าวัสดุ: ค่าวัสดุสิ้นเปลือง ค่าเวชภัณฑ์ ค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้สอย คาซ่อมแซม เก็บข้อมูลผลงานการให้บริการ ปรับยอดผลงานให้บริการ โรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลทั่วไป ใช้สัดส่วน 18 : 1 โรงพยาบาลชุมชน ใช้สัดส่วน 14: 1 คำนวณต้นทุนต่อหน่วยบริการ

District hospital unit cost OP visit = operating cost OP visit + (IP case * 14) unit cost IP case = unit cost OP * 14

สถานีอนามัย 44% operating cost = cost of curative unit cost OP visit = operating cost * 0.44 OP visit

การนำข้อมูลต้นทุนไปใช้ประโยชน์ ระดับหน่วยต้นทุน ระดับโรงพยาบาล ระดับจังหวัด หรือระดับประเทศ