แนวทางการส่งเสริมความปลอดภัยด้านยาระดับจังหวัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
Advertisements

กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
การบูรณาการขับเคลื่อนตามความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ในภาคกลาง
เกิดได้ก็ดี คาดว่าต้องเกิด ต้องเกิด เกษตรปลอดสาร ประชาชนฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ ฉลาดกิน มีศูนย์รับข้อร้องเรียน คาดว่าต้องเกิด ครัวเรือนปลูกผักกินเอง “
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย ด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ จังหวัดเชียงราย
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การนำร้านยาคุณภาพเข้าร่วมพัฒนาคุณภาพบริการ ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
กลุ่มตรวจสอบ ติดตาม ด้านยา วัตถุเสพติด และ เครื่องมือแพทย์ ( ตส.1 ) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
Food and drug administration
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
25/07/2006.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
กรณีความเสี่ยง DMSc.
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ความร่วมมือเครือข่ายภาคอีสาน กับคุณภาพนมโรงเรียนปี 2553
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการส่งเสริมความปลอดภัยด้านยาระดับจังหวัด

ความเสี่ยงที่ควรจับตา ความเสี่ยงด้านยา ความเสี่ยงที่ควรจับตา การจัดการความเสี่ยง การใช้ยาไม่สมเหตุสมผล คุณภาพยา Adverse Event ความปลอดภัยผู้ใช้ยา

ขอบเขต Product Services คุณภาพยา Adverse Event Irrational used กลุ่มกำกับดูแลยาหลังออกตลาด สำนักยา อย คุณภาพยา Adverse Event Product สถานพยาบาลของรัฐ สถานพยาบาลเอกชน Services การนำยาไปใช้ในทางที่ไม่เหมาะสม การใช้ยาอย่างไม่เหมาะสม Irrational used ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยา กอง ช อย. สำนักบริหารการสาธารณสุข สป. สมาคมเภสัชกรรมชุมชน งานควบคุมการกระจายยา สำนักยา อย คณะทำงานเภสัชปฐมภูมิ สภาเภสัชกรรม

ความเสี่ยงด้านคุณภาพยา ปัญหา “คุณภาพยา” เป็นความผิดปกติที่ทำให้ยามีคุณภาพ ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนด(Product specification) เช่น ยาที่มีการปนเปื้อนสิ่งแปลกปลอม สารเคมี เชื้อจุลินทรีย์ หรือ ยาอื่น ยาที่เข้าข่ายยาปลอม ยาผิดมาตรฐาน ยาเสื่อมคุณภาพ ยาที่ไม่มีประสิทธิภาพ ยาในภาชนะบรรจุยาผิดปกติ การแสดงฉลาก เอกสารกำกับยาไม่ถูกต้อง  

กลไกการจัดการความเสี่ยง : ด้านคุณภาพยา 1 ประเมินความรุนแรงของปัญหา 2 สืบสวน : เช่น ทวนสอบเอกสารการผลิต เก็บ Retained sample ส่งวิเคราะห์ 3 แจ้งเตือนภัย เรียกเก็บยาคืน และ แจ้งเตือนภัยเร่งด่วน Class 1 [อันตรายมาก] – ออกสื่อสาธารณะ Class 2 – แจ้งผ่านหน่วยงาน Class 3 – จะแจ้งเตือนภัย เป็นกรณีๆไป

ความเสี่ยงด้านการใช้ยาไม่เหมาะสม การซื้อยารับประทานเอง (Self Medication) กรณีซื้อยาซ้ำ (Refill) กรณีซื้อยาใช้ผิดวัตถุประสงค์ (Drug Abuse) การไม่รับประทานยาตามแพทย์สั่ง การบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพตามโฆษณา และการชักชวน/ชวนเชื่อ ปัญหาที่เกิดจากระบบสาธารณสุข การจ่ายยาซ้ำซ้อนของระบบ การจ่ายยาผิด ปัญหาระดับชุมชน

ตัวอย่างการ ใช้ยาไม่เหมาะสม ปัญหาระดับชุมชน

กลไกการจัดการความเสี่ยง : ด้านการใช้ยาไม่เหมาะสม 1 ประเมินความรุนแรงและขนาดของปัญหา 2 หาสาเหตุของปัญหา (คณะทำงาน) 3 มาตรการจัดการความเสี่ยง

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หน่วยบริการ

Risk Management tool (1) Patient Education Internal process improvement

Risk Management tool (2) Provision information Package insert Black boxed warning Information sheet & letter [Safety Alert] Dear Doctor letter Patient Information Leaflet Medication guides Product information Drug Label Training & Meeting

Risk Management tool (3) Control of the use of medicine Legal status Distribution Control Control of supply at Pharmacy level Control of Prescription supply Patient Informed consent Restricted access program Patient registration Suspension & Recall Withdrawal / Registration cancelled