โรงพยาบาลชั้นนำ ที่มีคุณภาพ สร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน
Advertisements

โรงพยาบาล เบอร์ 5.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
DIMMER HOSPITAL.
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ปลดหลอด.
รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม รพ หารสอง
โรงพยาบาลถอดปลั๊ก เบอร์หนึ่งด้านพลังงาน บริการเป็นเยี่ยม
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ไบโอ (BIO)
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ควบคุม.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2550
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ของวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ของวัสดุ
การสัมมนาโครงการสร้างอนาคต แพทย์ทหารเรือ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ ขั้นตอนที่ ๑ Stake Holder Analysis : การวิเคราะห์ความต้องการของ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งหมด ขั้นตอนที่
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และอุปกรณ์สำนักงาน.
กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การคำนวณการใช้พลังงานไฟฟ้า
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
แผนกลยุทธ์ 5 ด้าน งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ของวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ 6. บูรณาการความร่วมมือด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลชั้นนำ ที่มีคุณภาพ สร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน โรงพยาบาลรักษ์โลก โรงพยาบาลชั้นนำ ที่มีคุณภาพ สร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน www.themegallery.com

ทีมวิศวกรรมและเทคโนโลยี ทีบริหารจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ปัทมา นรพัลลภ ประธานกรรมการ คุณศิราณี คำเพราะ เลขานุการ คุณวรรณอร แสงหิรัญ รองประธานกรรมการ ทีมวิชาการ ทีมวิศวกรรมและเทคโนโลยี ทีบริหารจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ทีมประชาสัมพันธ์ คุณภาวิณี จิตรนอก คุณสมลักษณ์ บุญจันทร์ คุณมานพ สุดเสน่ห์ คุณจีรังกูร เมืองแก้ว คุณณัชพล นากสีนวน คุณสุนทรี น้ำใจทหาร คุณสาคร คอบค้อ คุณสุระศักดิ์ จันทะพิมพ์ คุณเกียรติศักดิ์ ล่ามแขก คุณสุรชัย ปลั่งกลา คุณวิจิต ดีจะโป คุณสุมิตร ลีลาอุดมลิป์ อาจารย์ฉัตรชัย มีหนุน คุณสมศักดิ์ สุทธิเจริญ ประธานคณะตรวจสอบติดตาม อาจารย์ที่ปรึกษา คุณประจวบ อินมะโรง คุณจักรพงษ์ แหล่งสะท้าน คุณอภิชัย วรภัทรชัย

นโยบายอนุรักษ์พลังงาน 1 ลดการใช้พลังงานในโรงพยาบาล ในปี 2556 ให้ต่ำกว่าปี 2555 ไม่น้อยกว่า10% กำหนดแผนงานและแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรพลังงานของโรงพยาบาลอย่างเหมาะสม/ ต่อเนื่อง โดยไม่กระทบต่อคุณภาพการบริการ 2 3 ดำเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย การอนุรักษ์พลังงานเป็นหน้าที่รับผิดชอบของบุคลากรทุกคนในโรงพยาบาล ที่จะให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนด 4 โรงพยาบาลฯ มีเป้าหมายที่จะเป็นอาคารที่เป็นเลิศทางด้านการประหยัดพลังงาน และเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน 5

ผังโรงพยาบาลรักษ์โลก

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM      

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM (โอกาสพัฒนา) 4.ระบบข้อมูลข่าวสาร - ควรมีข้อมูลของอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในหน่วยงาน และใช้กำลังไฟฟ้าเท่าไร เมื่อดำเนินการประหยัดได้เท่าไร - มีการกำกับติดตามและประเมินผล - มีการสื่อสารข้อบกพร่องและแนวทางแก้ไข

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 6.การลงทุน - ควรจัดสรรงบประมาณประจำปีเป็นค่าใช้จ่ายในการลงทุนเพื่อจัดการและอนุรักษ์พลังงาน

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง 1. นโยบายการจัดการพลังงาน ทบทวนนโยบายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย 2. การจัดการองค์กร มีคำสั่งการจัดตั้งคณะทำงาน มีการกำหนดผู้รับผิดชอบ มาตรการที่ชัดเจน มีการเผยแพร่ให้พนักงานทราบอย่างทั่วถึง 3. การกระตุ้นและแรงจูงใจ มีแผรการอบรมและกิจกรรมที่ชัดเจน มีการกระตุ่นและสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรทุกระดับ มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วม การประชาสัมพันธ์ มีการเผยแพร่ข้อมูลการดำเนินงาน และข้อมูลการใช้พลังงานและการประหยัดพลังงานให้กับบุคลากรทราบ 5.

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 1 ผลสำรวจ : มีการใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาด 36 วัตต์จำนวน 500 หลอด ร่วมกับบัลลาสต์แกนเหล็ก พิกัดกำลังไฟฟ้า = 500 x (36+10)/1000 เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 80 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 161,184 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ การดำเนินการขอการสนับสนุนจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน โดยมอบหมายให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตเป็นผู้ดำเนินการเข้ามาเปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต์ ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 500 x ((28+0) / 1000) x 80% x 24 x365 = 98,112 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 161,184 – 98,112 = 63,072 x 3.7 = 233,072.40 บาท/ปี

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 2 ผลสำรวจ : มีการลดการใช้พัดลมดูดอากาศ ตลอดเวลาในพื้นที่ปรับอากาศ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 50 x (26)/1000 เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 11,388 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ การลดการใช้พัดลมดูดอากาศ ตลอดเวลาในพื้นที่ปรับอากาศ (50%) กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 50 x ((26) / 1000) x 50% x 24 x365 = 5,694 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 11,388 – 5,694 = 5,694 x 3.7 = 21,067.80 บาท/ปี

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 3 ผลสำรวจ : มีการเปิดโคมไฟแสงสว่างในบางพื้นที่ตลอดเวลา พิกัดกำลังไฟฟ้า = 500 x (36+10)/1000 เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 70 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 141,036 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ ติดตั้งสวิทช์กระตุกเพื่อให้สามารถปิดโคมไฟในแต่ละจุดได้ (ค่าใช้จ่ายประมาณ 40 บาท/โคม) กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 500 x (36+10)/1000 x 50% x 24 x365 = 100,740 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 141,036 – 100,740 = 40,296 x 3.7 = 149,095.20 บาท/ปี

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 4 ผลสำรวจ : มีการใช้เครื่องทำน้ำร้อนน้ำเย็นในการใช้บริการเจ้าหน้าที่ผู้ป่วยและญาติ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 2 x (1500)/1000 เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 70 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 18,396 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ เปลี่ยนการใช้เครื่องทำน้ำร้อนน้ำเย็นเดิม เปลี่ยนเป็นใช้เครื่องทำน้ำเย็นและติดตั้งสวิทช์กระตุกเพื่อให้สามารถปิดโคมไฟในแต่ละจุดได้ใช้ไมโครเวฟแทนเครื่องทำน้ำร้อน กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 2 x (36+10)/1000 x 50% x 24 x365 = 100,740 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 141,036 – 100,740 = 40,296 x 3.7 = 149,095.20 บาท/ปี

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 5 ผลสำรวจ : ปรับอุณหภูมิ เครื่องปรับอากาศที่ 20 องศา ซ. พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 3504 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา ซ. (เปอร์เซ็นต์การทำงาน 80 %) 2. ซ่อมแซมชุด THERMOSTAT 3. เผยแพร่ความสูญเสียในการตั้งอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1200 x 8 x 0.8 x 365 ) / 1000 = 2803.2 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 3504 – 2803.2 = 700.8 x 3.4 = 2,382.72 บาท/ปี

สิ่งที่ได้จากการอบรม 1.ได้เห็นจุดแข็งและจุดอ่อนของแต่ละมาตรการของการประหยัดพลังงานที่นำเสนอ 2. ได้ทราบกฎหมายด้านการอนุรักษ์พลังงานเบื้องต้นที่ควรทราบ 3.เข้าใจขั้นตอนการบริหารจัดการพลังงานมากขึ้น 4. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากการลงพื้นที่และในกลุ่ม 5. มีความรู้ด้านเทคนิคและพัฒนาอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 6. นำไปใช้กับหน่วยงาน พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

Thank You ! www.themegallery.com