โรงพยาบาลชั้นนำ ที่มีคุณภาพ สร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน โรงพยาบาลรักษ์โลก โรงพยาบาลชั้นนำ ที่มีคุณภาพ สร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน www.themegallery.com
ทีมวิศวกรรมและเทคโนโลยี ทีบริหารจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ปัทมา นรพัลลภ ประธานกรรมการ คุณศิราณี คำเพราะ เลขานุการ คุณวรรณอร แสงหิรัญ รองประธานกรรมการ ทีมวิชาการ ทีมวิศวกรรมและเทคโนโลยี ทีบริหารจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ทีมประชาสัมพันธ์ คุณภาวิณี จิตรนอก คุณสมลักษณ์ บุญจันทร์ คุณมานพ สุดเสน่ห์ คุณจีรังกูร เมืองแก้ว คุณณัชพล นากสีนวน คุณสุนทรี น้ำใจทหาร คุณสาคร คอบค้อ คุณสุระศักดิ์ จันทะพิมพ์ คุณเกียรติศักดิ์ ล่ามแขก คุณสุรชัย ปลั่งกลา คุณวิจิต ดีจะโป คุณสุมิตร ลีลาอุดมลิป์ อาจารย์ฉัตรชัย มีหนุน คุณสมศักดิ์ สุทธิเจริญ ประธานคณะตรวจสอบติดตาม อาจารย์ที่ปรึกษา คุณประจวบ อินมะโรง คุณจักรพงษ์ แหล่งสะท้าน คุณอภิชัย วรภัทรชัย
นโยบายอนุรักษ์พลังงาน 1 ลดการใช้พลังงานในโรงพยาบาล ในปี 2556 ให้ต่ำกว่าปี 2555 ไม่น้อยกว่า10% กำหนดแผนงานและแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรพลังงานของโรงพยาบาลอย่างเหมาะสม/ ต่อเนื่อง โดยไม่กระทบต่อคุณภาพการบริการ 2 3 ดำเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย การอนุรักษ์พลังงานเป็นหน้าที่รับผิดชอบของบุคลากรทุกคนในโรงพยาบาล ที่จะให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนด 4 โรงพยาบาลฯ มีเป้าหมายที่จะเป็นอาคารที่เป็นเลิศทางด้านการประหยัดพลังงาน และเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน 5
ผังโรงพยาบาลรักษ์โลก
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM (โอกาสพัฒนา) 4.ระบบข้อมูลข่าวสาร - ควรมีข้อมูลของอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในหน่วยงาน และใช้กำลังไฟฟ้าเท่าไร เมื่อดำเนินการประหยัดได้เท่าไร - มีการกำกับติดตามและประเมินผล - มีการสื่อสารข้อบกพร่องและแนวทางแก้ไข
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 6.การลงทุน - ควรจัดสรรงบประมาณประจำปีเป็นค่าใช้จ่ายในการลงทุนเพื่อจัดการและอนุรักษ์พลังงาน
ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง 1. นโยบายการจัดการพลังงาน ทบทวนนโยบายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมาย 2. การจัดการองค์กร มีคำสั่งการจัดตั้งคณะทำงาน มีการกำหนดผู้รับผิดชอบ มาตรการที่ชัดเจน มีการเผยแพร่ให้พนักงานทราบอย่างทั่วถึง 3. การกระตุ้นและแรงจูงใจ มีแผรการอบรมและกิจกรรมที่ชัดเจน มีการกระตุ่นและสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรทุกระดับ มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วม การประชาสัมพันธ์ มีการเผยแพร่ข้อมูลการดำเนินงาน และข้อมูลการใช้พลังงานและการประหยัดพลังงานให้กับบุคลากรทราบ 5.
มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 1 ผลสำรวจ : มีการใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาด 36 วัตต์จำนวน 500 หลอด ร่วมกับบัลลาสต์แกนเหล็ก พิกัดกำลังไฟฟ้า = 500 x (36+10)/1000 เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 80 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 161,184 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ การดำเนินการขอการสนับสนุนจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน โดยมอบหมายให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตเป็นผู้ดำเนินการเข้ามาเปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต์ ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 500 x ((28+0) / 1000) x 80% x 24 x365 = 98,112 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 161,184 – 98,112 = 63,072 x 3.7 = 233,072.40 บาท/ปี
มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 2 ผลสำรวจ : มีการลดการใช้พัดลมดูดอากาศ ตลอดเวลาในพื้นที่ปรับอากาศ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 50 x (26)/1000 เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 11,388 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ การลดการใช้พัดลมดูดอากาศ ตลอดเวลาในพื้นที่ปรับอากาศ (50%) กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 50 x ((26) / 1000) x 50% x 24 x365 = 5,694 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 11,388 – 5,694 = 5,694 x 3.7 = 21,067.80 บาท/ปี
มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 3 ผลสำรวจ : มีการเปิดโคมไฟแสงสว่างในบางพื้นที่ตลอดเวลา พิกัดกำลังไฟฟ้า = 500 x (36+10)/1000 เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 70 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 141,036 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ ติดตั้งสวิทช์กระตุกเพื่อให้สามารถปิดโคมไฟในแต่ละจุดได้ (ค่าใช้จ่ายประมาณ 40 บาท/โคม) กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 500 x (36+10)/1000 x 50% x 24 x365 = 100,740 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 141,036 – 100,740 = 40,296 x 3.7 = 149,095.20 บาท/ปี
มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 4 ผลสำรวจ : มีการใช้เครื่องทำน้ำร้อนน้ำเย็นในการใช้บริการเจ้าหน้าที่ผู้ป่วยและญาติ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 2 x (1500)/1000 เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 70 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 18,396 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ เปลี่ยนการใช้เครื่องทำน้ำร้อนน้ำเย็นเดิม เปลี่ยนเป็นใช้เครื่องทำน้ำเย็นและติดตั้งสวิทช์กระตุกเพื่อให้สามารถปิดโคมไฟในแต่ละจุดได้ใช้ไมโครเวฟแทนเครื่องทำน้ำร้อน กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = 2 x (36+10)/1000 x 50% x 24 x365 = 100,740 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.7 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 141,036 – 100,740 = 40,296 x 3.7 = 149,095.20 บาท/ปี
มาตรการและการคำนวณผลประหยัด 5 ผลสำรวจ : ปรับอุณหภูมิ เครื่องปรับอากาศที่ 20 องศา ซ. พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 3504 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา ซ. (เปอร์เซ็นต์การทำงาน 80 %) 2. ซ่อมแซมชุด THERMOSTAT 3. เผยแพร่ความสูญเสียในการตั้งอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1200 x 8 x 0.8 x 365 ) / 1000 = 2803.2 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 3504 – 2803.2 = 700.8 x 3.4 = 2,382.72 บาท/ปี
สิ่งที่ได้จากการอบรม 1.ได้เห็นจุดแข็งและจุดอ่อนของแต่ละมาตรการของการประหยัดพลังงานที่นำเสนอ 2. ได้ทราบกฎหมายด้านการอนุรักษ์พลังงานเบื้องต้นที่ควรทราบ 3.เข้าใจขั้นตอนการบริหารจัดการพลังงานมากขึ้น 4. ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากการลงพื้นที่และในกลุ่ม 5. มีความรู้ด้านเทคนิคและพัฒนาอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 6. นำไปใช้กับหน่วยงาน พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
Thank You ! www.themegallery.com