โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ปลดหลอด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

สำนักกำกับและอนุรักษ์พลังงาน
โรงพยาบาล เบอร์ 5.
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
DIMMER HOSPITAL.
รายชื่อสมาชิกภายในกลุ่ม รพ หารสอง
โรงพยาบาลชั้นนำ ที่มีคุณภาพ สร้างสังคมสุขภาวะอย่างยั่งยืน
โรงพยาบาลถอดปลั๊ก เบอร์หนึ่งด้านพลังงาน บริการเป็นเยี่ยม
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ไบโอ (BIO)
โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ควบคุม.
การปฏิบัติการลดการใช้พลังงาน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การบริหารความเสี่ยง และการวางระบบควบคุมภายใน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
การพัฒนาระบบ การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
โดย วชิรวิชญ์ มธุรสสุวรรณ
ทีมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการขอรับรองกิจการบริการด้านการจัดการพลังงาน (Energy.
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ของวัสดุ
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
แนวนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
วิชาโครงการ 4 หน่วยกิต 2 ชั่วโมง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการประหยัดพลังงาน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
แผนกลยุทธ์ 5 ด้าน งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช
การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงาน ส่วนราชการมีกระบวนงานการบริหารจัดการทรัพยากร.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบวิศวกรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาบุคลากรและทีมบริหารด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล ปลดหลอด

โรงพยาบาล “ปลดหลอด”

ฝ่ายธุรการและประชาสัมพันธ์ ฝ่ายวิศวกรรมและเทคโนโลยี ประธานคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน อาจารย์ที่ปรึกษา นายธรรมรัตน์ รัตนนาวินกุล เลขานุการ รองประธาน อ.อภิรักษ์ สกุลพงษ์ นายเอกวิทย์ ตันเกิด นส.ภาวะดี ณ นคร นายเสรี ปังหลีเส้น คณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน ฝ่ายธุรการและประชาสัมพันธ์ ฝ่ายวิศวกรรมและเทคโนโลยี ฝ่ายอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม นายพนมยงค์ ศรีพงศ์ นายวิชิต รัญดร นายสิริชัย สมชัยชนะ นายอลงกรณ์ บุญรักษ์ นายอาภรณ์ บุญช่วย

นโยบายอนุรักษ์พลังงานของ รพ.ปลดหลอด 1. ลดการใช้พลังงานทุกประเภทและใช้อย่างประหยัดพลังงานปี 2555 ต่ำกว่าปี 2554 ได้อย่างน้อย 5% และเป็นเรื่องสำคัญที่ทุกคนต้องถือปฏิบัติ เผยแพร่นโยบายให้ทุกคนรับทราบและมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง โดยให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นส่วนหนึ่งของโรงพยาบาล 2. ดำเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมายหรือมาตรฐานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. กำหนดแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 4. กำหนดแนวทางในการจัดสรรทรัพยากรอย่างพอเพียง โดยไม่กระทบต่อคุณภาพการบริการ 5.

ผังพื้นที่รับผิดชอบ NSO.

ผังพื้นที่รับผิดชอบ ORTHO.

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM 4.ระบบข้อมูลข่าวสาร จุดแข็ง มีการเก็บข้อมูลและปริมาณผลประหยัดและแจ้งให้ทราบโดยทั่วถึง จุดที่พัฒนาได้ ถ้าเป็นไปได้การเก็บข้อมูลและปริมาณผลประหยัดถ้าสามารถแยกออกเป็นหน่วยงานหรือตามอาคารได้ ก็จะเห็นจุดที่จะพัฒนาเพิ่มเติมได้อีก 

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง 1. นโยบายการจัดการพลังงาน ทบทวนนโยบายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอย่างเหมาะสมและเป็นไปตามกฎหมายหรือมาตรฐานต่างๆที่เกี่ยวจ้อง การจัดการองค์กร มีการหมุนเวียนบุคลากรร่วมเป็น สส. พลังงาน โดยถูกกำหนดเป็นรุ่นต่างๆ ซึ่งทำให้ทุกคนได้มีส่วนร่วม 2. การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ มีการประชุมเป็นรายเดือน/ สัปดาห์ และนำเอาปัญหาหรือข้อเสนอแนะต่างๆ เข้าหารือและแก้ไขร่วมกัน 3. ระบบข้อมูลข่าวสาร มีการรายงานผลการดำเนินงานและแจ้งให้ทราบหลายช่องทางและโดยทั่วถึง 4.

ผลการวิเคราะห์ด้วย EMM-จุดแข็ง 5. การประชาสัมพันธ์ การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ทั่วถึงแทบทุกจุด และเนื้อหาก็เข้าใจง่ายและสามารถนำไปใช้ในบ้านเรือนได้ด้วย การลงทุน มีการสนับสนุนการลงทุนค่อนข้างสูง โดยมีทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 6.

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : หม้อต้มน้ำปรับอุณหภูมิที่ 110 องศาฯ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 2400 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 50 % เวลาทำงาน = 6 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 2628 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ปรับอุณหภูมิที่ 100 องศา ซ. (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 30 %) 2. กำหนดเป็นระเบียบปฏิบัติให้ทุกหน่วย ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 2400 x 6 x 0.3 x 365 ) / 1000 = 1576.8 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 2628 – 1576.8 = 1051.2 x 3.4 = 3574.08 บาท/ปี

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : ปรับอุณหภูมิ เครื่องปรับอากาศที่ 20 องศา ซ. พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 3504 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศา ซ. (เปอร์เซ็นต์การทำงาน 80 %) 2. มีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ 3. เผยแพร่ความสูญเสียในการตั้งอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1200 x 8 x 0.8 x 365 ) / 1000 = 2803.2 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 3504 – 2803.2 = 700.8 x 3.4 = 2,382.72 บาท/ปี

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : ตู้เย็นแช่ของมากเกินความจำเป็น 1 ตู้ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 50 % เวลาทำงาน = 24 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 876 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. กำหนดรายการและชนิดสิ่งของที่ใช้แช่สูงสุดไว้ 2. ตั้งค่าความเย็นที่เหมาะสมกับสิ่งของที่แช่ในตู้เย็น (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 30 %) 3. เผยแพร่ผลเสีย(อย่างสร้างสรรค์)ที่เกิดขึ้นผ่านสื่อต่างๆใน รพ. ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 200 x 24 x 0.3 x 365 ) / 1000 = 525.6 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 876 - 525.6 = 350.4 x 3.4 = 1,191.36 บาท/ปี

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : เปิดเครื่องปรับอากาศแล้วเปิดประตูทิ้งไว้ พิกัดกำลังไฟฟ้า = 1200 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 90 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 3153.6 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. ติดตั้งโช๊คประตู (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 80 %) 2. รณรงค์เมื่อเปิดแอร์ต้องปิดประตูทุกครั้ง ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 1200 x 8 x 0.8 x 365 ) / 1000 = 2803.2 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 3153.6 – 2803.2 = 350.4 x 3.4 = 1,191.36 บาท/ปี

มาตรการและการคำนวณผลประหยัด ผลสำรวจ : หลอดไฟฮาโลเจน ขนาด 50 watt พิกัดกำลังไฟฟ้า = 50 watt. เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 % เวลาทำงาน = 8 ชั่วโมง/วัน วันทำงาน = 365 วัน/ปี ก่อนกำหนดมาตรการ ใช้พลังงาน 146 หน่วย/ปี มาตรการด้านเทคนิคและการประชาสัมพันธ์ 1. เปลี่ยนเป็นหลอดLED 5 watt (เปอร์เซ็นต์การทำงาน = 100 %) 2. เผยแพร่ข้อมูลของหลอดไฟฟ้า LED เทียบกับประเภทอื่น ผลประหยัด พลังงานไฟฟ้า = ( 5 x 8 x 1 x 365 ) / 1000 = 14.6 หน่วย/ปี อัตราค่าไฟฟ้า = 3.4 บาท/หน่วย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ = 146 – 14.6 = 131.4 x 3.4 = 446.76 บาท/ปี

นำผลสำเร็จในการประหยัดพลังงานไปสู่การปฏิบัติในครอบครัวและชุมชน มาตรการอื่นๆ สำรวจความต้องการอุปกรณ์ทั้งองค์กรเพื่อนำเสนอพิจารณาจัดซื้อจัดจ้างในคราวเดียวกัน 1 นำผลสำเร็จในการประหยัดพลังงานไปสู่การปฏิบัติในครอบครัวและชุมชน 2

แผนการดำเนินงาน

สิ่งที่ได้รับจากการอบรม การเลือกซื้ออุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน 1 การควบคุมระยะเวลาในการใช้ไฟฟ้าเพื่อการประหยัดพลังงาน 2 นำเทคนิคการใช้อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ ในการประหยัดพลังงาน 3 รู้ถึงการกำกับติดตามการดำเนินการเพื่อให้การ ลดใช้พลังงานประสบผลสำเร็จ 4 นำความรู้เรื่อง EMM ไปประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานในองค์กร เพื่อนำไปพัฒนา 5

สมาชิกกลุ่มที่ 4 “โรงพยาบาลปลดหลอด” ขอขอบคุณ