ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
ระบบเศรษฐกิจ.
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
โครงการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ในทัศนะของ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน โดย ดร.สำราญ ภูอนันตานนท์ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ๘ ก.ค.๔๘.
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
แผนยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
นโยบายด้านบริหาร.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๙
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
Evaluation of Thailand Master Plan
ประเภทของนโยบายสาธารณะ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย

ที่มาของการกำหนดยุทธศาสตร์ที่อยู่อาศัย การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม ในประเทศ - การเมือง - สังคมจิตวิทยา - เศรษฐกิจ - เทคโนโลยี ๒. ต่างประเทศ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ยุทธศาสตร์ในแต่ละกลุ่ม

การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม ๑. รวบรวมข่าวสารที่เกี่ยวกับปัญหาสำคัญต่าง ๆ ทั้ง ภายนอกและภายในประเทศ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการด้านที่อยู่อาศัย ๒. พิจารณาแยกแรงผลักดัน (เหตุ) และแนวโน้ม (ผล) รวมทั้งผลกระทบต่อปัญหาต่าง ๆ ทั้งด้านดีและไม่ดี ซึ่งอาจจะมีผลทันทีหรือมีผลต่อเนื่องเป็นเวลานานก็ได้

กลุ่ม ๑ นโยบายแห่งรัฐ และการสนับสนุนสิทธิของประชาชน เข้าถึงทรัพยากรอย่างเป็นธรรม ๑. เสริมสร้างความสามารถของประชาชนให้มีที่อยู่อาศัยของตนเองอย่างเพียงพอ ๒. สร้างความสมดุลให้กลไกตลาดเอื้อประโยชน์ต่อประชาชนอย่างเป็นธรรม ๓. การช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสและผู้มีรายได้น้อย ๔. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตในสถานที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม

กลุ่ม ๒ กฎระเบียบและโครงสร้างองค์การ ๑. ส่งเสริมจัดรูปที่ดิน เพื่อการอยู่อาศัยในเขตเมืองให้เป็นประโยชน์แก่ผู้มีรายได้น้อย ๒. การปรับปรุงประสิทธิภาพการบริการประชาชนในหน่วยงานของรัฐ ๓. จัดตั้งคณะกรรมการนโยบายที่อยู่อาศัยแห่งชาติ ๔. จัดตั้งศูนย์บริการร่วมของภาครัฐ

กลุ่ม ๓ ผังเมือง สาธารณูปโภค และสารสนเทศ ๑. สาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่เอื้อประโยชน์ในการพัฒนาตามผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะ ๒. พัฒนาขีดความสามารถขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ในการจัดเก็บภาษีทรัพย์สิน และการตัดสินใจลงทุนโครงการสาธารณะประโยชน์ ๓. การพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ และการจัดทำดัชนีที่อยู่อาศัยด้านต่าง ๆ ให้เป็นระบบจัดการสารสนเทศ (MIS)

กลุ่ม ๔ การเงินเคหะการ/สินเชื่อก่อสร้าง และการเข้าถึงแหล่งทุน ๑. ส่งเสริมการออมระยะยาว โดยมีรูปแบบทางการเงินใหม่ เพื่อเพิ่มปริมาณเงินทุนใช้พัฒนาที่อยู่อาศัยอย่างยั่งยืน ๒. เสริมสร้างโอกาสแก่ผู้มีรายได้น้อยให้เข้าถึงแหล่งเงินกู้อย่างเสมอภาค ๓. มาตรการทางภาษีที่จูงใจการลงทุนผลิตที่อยู่อาศัยแก่ผู้มีรายได้น้อย

ผลสรุปจากการสัมมนาจะใช้เป็นเครื่องมือ ในการแปลงวิสัยทัศน์เป็นยุทธศาสตร์สู่แผนปฏิบัติการ เชื่อมโยงองค์กรต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการพัฒนาแผนงานของชาติ กลุ่มคนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐส่วนกลาง/ภูมิภาค ทั้งภาคเอกชนผู้ประกอบการ/องค์กรประชาชน มีความสัมพันธ์กับกระบวนการเลือกกลยุทธ์ และโครงการตามบริบทของตน โดยลดความสิ้นเปลือง ขจัดการทำงานที่ไม่มีประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์แก่ประชาชนมีสิทธิ์เข้าถึง / ครอบครอง สิทธิการอยู่อาศัย อันเป็นชีวิตที่ดีกว่า ตามความต้องการแต่ละกลุ่ม