การลดปัจจัยเสี่ยงทางกายภาพและการยศาสตร์ กลุ่มที่ 3
ปัญหาและปัจจัยเสี่ยงทางกายภาพ แสง เสียง ความร้อน ไอ ควัน ฝุ่น ก๊าซ ไฟฟ้า ที่อับอากาศ/อุปกรณ์ที่มีแรงดัน โครงสร้างอาคาร อุปกรณ์สำนักงาน-เครื่องมือต่างๆ
แสงสว่าง ปัญหาที่พบ แสงจ้า ; หน่วยงาน แสงจ้า ; หน่วยงาน จ่ายกลาง บันได ซ่อมบำรุง ระเบียง ฯลฯ แสงน้อย ; หน่วยงาน ห้องคอมพิวเตอร์ ห้อง X-ray ห้องตรวจแพทย์ Nurse station ฯลฯ
เสียง ปัญหาที่พบ เสียงดัง ;หน่วยงาน ซักฟอก จ่ายกลาง โภชนาการ ซักฟอก จ่ายกลาง โภชนาการ โรงซ่อมบำรุง OPD คลินิกต่าง ๆ ห้องยา (จากเครื่อง Suction/เครื่องปั่นไฟ)
ความร้อน หน่วยงานที่พบ ; ห้องจ่ายกลาง ซักฟอก โภชนาการ
โครงสร้างอาคาร ปัญหาที่พบ พื้นต่างระดับ /ทางลาด ; ทางขึ้น(บันได/ทางลาด) เพดาน ฝา เสา ชำรุด หลังคารั่ว การระบายอากาศไม่ดี
ควัน ฝุ่น ก๊าซ ควัน ; โรงเครื่องปั่นไฟ ฝุ่นใยผ้า ; ซักฟอก ควัน ; โรงเครื่องปั่นไฟ ฝุ่นใยผ้า ; ซักฟอก ฟูม ; งานเชื่อม(ซ่อมบำรุง)
อันตรายจากที่อับอากาศ บ่อบำบัดน้ำเสีย อันตรายจากอุปกรณ์ที่มีแรงดัน บริเวณที่เก็บถังอ๊อกซิเจน โรงครัว จ่ายกลาง
ไฟฟ้าช็อต การสั่นสะเทือน ห้องเฝือก ซ่อมบำรุง งานตัดหญ้า ทุกหน่วยงานในรพ.ที่ใช้ไฟฟ้า การสั่นสะเทือน ห้องเฝือก ซ่อมบำรุง งานตัดหญ้า
รังสี X-ray Nursery unit อุปกรณ์สำนักงาน-เครื่องมือต่างๆ - โต๊ะ เก้าอี้ กระดาษ มีด ฯลฯ
สรุปความเสี่ยงด้านกายภาพในโรงพยาบาลที่เลือก โดยพิจารณาจาก ความถี่ และความรุนแรง เรื่อง ไฟฟ้าช็อต
ไฟฟ้าช็อต วิเคราะห์สาเหตุ สายไฟชำรุด/อุปกรณ์ชำรุด อุปกรณ์ไฟฟ้าไม่มีสายดิน บุคลากรขาดความรู้/ตระหนัก/ประมาท ขาดการบำรุงรักษา การใช้งานอุปกรณ์ไม่เหมาะสม
การป้องกันแก้ไข สำรวจตรวจสอบอุปกรณ์-เครื่องใช้ไฟฟ้า ซ่อมแซม ทดแทนอุปกรณ์-เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ชำรุด ทำแผนในการตรวจสอบ และบำรุงรักษาเชิงรุก ให้ความรู้เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการการป้องกันไฟฟ้าดูด ติดตั้งระบบสายดิน ระบบตัดไฟ (เฉพาะจุด/ทั้งโรงพยาบาล) ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่มีการปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดไว้
ปัญหาด้านการยศาสตร์ในโรงพยาบาล ปวดข้อ ปวดหลัง ; พยาบาล เวรเปล ซักฟอก หน่วยจ่ายกลาง คนสวน คนขับรถ ปวดตา ; แผนกเย็บผ้า งานเอกสาร คอมพิวเตอร์
สรุปความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ในโรงพยาบาลที่เลือก “ปวดหลังเนื่องจากการเคลื่อนย้าย ผู้ป่วย”
ปวดหลังเนื่องจากการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย” สาเหตุปัญหา ท่าทางไม่ถูกต้อง(ขาดความรู้/ไม่ตระหนัก) ผู้ป่วยมีน้ำหนักมาก/ไม่รู้สึกตัว ขาดอุปกรณ์ช่วยในการผ่อนแรง/ป้องกันตน
แนวทางแก้ไข-ป้องกัน 1.ให้ความรู้และทักษะด้านการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ถูกวิธี 2.จัดอุปกรณ์เสริมช่วยในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย เช่น แผ่นสไลด์ เตียงที่ปรับระดับได้ 3.ใช้อุปกรณ์ป้องกันการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อหลัง (Back support) 4.ส่งเสริมการออกกำลังกายกล้ามเนื้ออย่างต่อเนื่อง 5.มีกิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนดไว้