กลุ่มปลาดาว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
Advertisements

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สิ่งเล็ก ๆ ผศ.นพ. สุนทร วงษ์ศิริ
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
Self Help Group หทัยรัฐณ์ วารินทร์ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
บริหารคนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
สภานิสิต: บทบาทและทิศทางในอนาคต
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
การแถลงนโยบายผู้บังคับบัญชา
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กรณีตัวอย่าง.
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
สิ่งที่คาดว่าจะพัฒนาในการจัดคลินิกผู้สูงอายุ
Participation : Road to Success
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
เลือกประธานกลุ่ม / หัวหน้ากลุ่ม แบ่งหน้าที่ กลุ่มย่อย 5-10 คน กลุ่ม ใหญ่ 50 คนขึ้นไป กลุ่มต้องมี มีอุดมการตณ์เดียวกัน / ชะตา กรรมแก้ไขปัญหาหนี้ บริหารจัดการ.
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
วิเคราะห์จุดอ่อน – จุดแข็ง และแนวทางแก้ไขปัญหาของงานข้อมูลสารสนเทศ ในความสัมพันธ์ระดับต่าง ๆ ของหน่วยงาน กลุ่มที่ ๔ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ.
โครงสร้างขององค์การ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่

การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
บทเรียนการดำเนินงาน เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มปลาดาว

สมาชิกกลุ่ม รพ.กุฉินารายณ์ รพ.กระนวน รพ.ขอนแก่น-ราม รพ.ชัยภูมิ รพ.ภูผาม่าน รพ.บ้านเขว้า รพ.สว่างแดนดิน รพ.อุดรธานี สอ.นาคำ

ประธาน นพ.สิริชัย รองประธาน คุณจีรวรรณ เลขา คุณรัตนาภรณ์ ผู้บันทึกข้อมูล คุณปภาวี ผู้รักษาเวลา คุณภาคภูมิ ผู้นำเสนอ นพ.สิริชัย

สิ่งที่ต้องการของกลุ่ม เทคนิคการถ่ายทอดความรู้สู่ผู้เป็นเบาหวาน การสร้างทีมภายใน รพ. การเก็บข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เทคนิคการสร้างเครือข่ายนอก รพ. การทำค่าย

เทคนิคการถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เป็นเบาหวาน แสดงความจริงใจให้เห็น อย่าคิดว่าเป็นหน้าที่ที่ต้องทำ สร้างแรงจูงใจ (เช่น รางวัล การเห็นคุณค่าของตนเอง) ให้กำลังใจ ให้โอกาสผู้ป่วยปรึกษาได้ตลอด

เทคนิคการถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เป็นเบาหวาน สร้างเครือข่ายโดยผู้ป่วยถึงผู้ป่วย หรือ คนใกล้ชิด คนเกรงใจ กรณีผู้ป่วยมีปัญหาต่อต้าน ไม่ดูแลตนเอง เริ่มต้นจากการทำให้ผู้ป่วยตระหนักก่อน ผู้ป่วยจึงจะยอมเปลี่ยนพฤติกรรม เครือข่ายอย่างไม่เป็นทางการ ( เช่น สอนใช้ penfill ให้คนหนึ่ง อีกคนอยากใช้บ้าง)

การเก็บข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ในกลุ่มส่วนใหญ่ยังเห็นว่ายังเป็นปัญหา เช่น ข้อมูลในเวชระเบียนไม่เป็นปัจจุบัน แพทย์ไม่บันทึกข้อมูลลงในเวชระเบียน เช่น โรคแทรกซ้อน ทำให้พยาบาลไม่กล้าลงข้อมูล แก้ปัญหาให้ผู้ป่วยไม่ทัน

การเก็บข้อมูลและสารสนเทศ (IT) โปรแกรมเก็บข้อมูลมีหลายโปรแกรม ทำให้ทำงานมากขึ้น ข้อมูลที่แต่ละหน่วยงานอยากให้เก็บไม่เหมือนกัน เช่น ข้อมูลของ สปสช. สสจ. อยากได้ไม่เหมือนกัน

ทางกลุ่มจึงสรุปปัญหาและแนวทางการแก้ไข ดังนี้ (บางอย่างอาจต้องให้คนอื่นอย่าง เช่น ส่วนกลางช่วยแก้ด้วย)

การสื่อสารระหว่างทีมงาน ปัญหา การสื่อสารระหว่างทีมงาน แพทย์ไม่ทึกข้อมูลลง OPD Card ข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน การรวบรวมข้อมูล การส่งรายงานข้อมูล การแก้ไข ทำสมุดประจำตัวผู้ป่วย ข้อจำกัด: ค่าใช้จ่ายมาก ทำงานซ้ำซ้อน เขียนโปรแกรม

ปัญหา แต่ละ รพ. เก็บข้อมูลไม่เหมือนกัน ผู้บริหารไม่เล่นด้วย การแก้ไข โปรแกรมมาตรฐานจากส่วนกลาง ??????

การสร้างทีมภายใน รพ. มีทั้งที่ยังเป็นทีม กับ กำลังเริ่ม ๆ รพ. ที่ success เล่าถึงประสบการณ์และแนะนำ

การสร้างทีมภายใน รพ. หมอไม่เล่นด้วย อาจเพราะภาระงานมาก ทำไงดี??? ส่งผู้ป่วยออก สอ.ลดการแออัด ผู้บริหาร ต้องมีนโยบายผลักดันในการช่วยวันทำงาน

การสร้างทีมภายใน รพ. ทำอย่างไรที่จะให้กำลังใจซึ่งกันและกัน เมื่อมีปัญหา เวลาคุยกันไม่ควรเป็นทางการมาก สังเกตผู้ร่วมงานว่าไม่ชอบอะไร ทำค่าย เพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างวิชาชีพ สนุกสนาน สอนกันและกันระหว่างวิชาชีพในเรื่องที่ต่างคนยังไม่รู้ของกันและกัน เพื่อตอบคนไข้ได้ตรงกัน

การสร้างทีมภายใน รพ. ควรมีการทำกิจกรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ ร่วมกันระหว่างสหวิชาชีพบ้าง เช่น กินข้าวเย็น การสร้างทีมในกลุ่มวิชาชีพเดียวกัน เช่น พยาบาล อย่าคาดหวังมาก ให้ค่อยเป็นค่อยไป

จบแล้วจ้า