หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
ทรัพยากรสารสนเทศ.
โรงเรียนผ่องพลอยอนุสรณ์
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสื่อสารข้อมูล.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
“ จดหมายเหตุ CHILL CHILL ”
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ภาษาเพื่อการสื่อสารมวลชน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
รายวิชา เว็บเทคโนโลยี (Web Technology)
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Introduction to Information and Communication Technology)
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
ความหมาย ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
วันที่ มกราคม 2555 ณ ห้อง 107 วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ฐานข้อมูล Data Base.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การประยุกต์ใช้ ระบบสารสนเทศ ในองค์กร. เนื้อหา การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในงานบริการสถาบัน บริการสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเอกสาร การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร.
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1.ด.ช.ณัฐภูมิ คงกระพันธ์ ชั้น ป.4 เลขที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
 ในปัจจุบันการนำคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน ของประเทศ ต่างๆ ทั่วโลก อยู่ที่การใช้สารสนเทศเป็นส่วนใหญ่ แนวโน้มของระบบ จัดการข้อมูลของยุคนี้ เริ่มเปลี่ยน จากระบบ.
สารสนเทศกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
บทที่ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ช่วยทำให้การ บริการสะดวกขึ้น.
รูปแบบการบริการสารสนเทศ
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
การพัฒนาตนเอง.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
รายวิชา การจัดการฐานข้อมูล
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วย ให้การบริการสะดวกขึ้น จัดทำโดย ด. ญ. ชุติกาญจน์ ยี่บุญ เลขที่ 1 ม.1/12 ด. ญ. อาทิตยา มั่นหาญ เลขที่ 13 ม. 1/12.
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ การศึกษา หมายถึง การเรียน ฝึกฝน และอบรม สารสนเทศ ( INFORMATION ) หมายถึง ความรู้ เรื่องราว ข่าวสาร ข้อมูล ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดต่างๆ ของมนุษย์ที่ได้ผ่านการประมวลผลแล้ว และบันทึกไว้ในสื่อหรือวัสดุในรูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถถ่ายทอดและเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ทราบ

สารนิเทศ จะเน้นการจัดเนื้อหา ให้เหมาะสมกับการเผยแพร่ของระบบโทรคมนาคม และคอมพิวเตอร์แบบดั้งเดิม สารสนเทศจะเน้นการใช้เทคโนโลยีทั้งฮาร์ทแวร์และซอฟแวร์ ที่คุณภาพสูงในการจัดเก็บข้อมูลในรูปที่ส่งข้อมูลหรือกระจายข่าวสารในระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ ดาวเทียม โทรศัพท์ เป็นต้น

ในยุคแรก ๆ มนุษย์รู้จักการบันทึกความรู้ไว้บนวัสดุต่าง ๆ เช่น หิน ดินเหนียว ใบไม้ ต่อมามนุษย์ได้คิดค้นทำกระดาษได้สำเร็จ จึงจารึกหรือเขียนไว้บนกระดาษเพื่อใช้เป็นหลักฐาน และต่อมาได้คิดค้นระบบการพิมพ์ จึงมีการพิมพ์ทำเป็นรูปเล่มหนังสือ และสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ซึ่งสามารถรับรู้ไดด้วยการดูหรืออ่าน

ปัจจุบันได้มีการพัฒนาการจัดเก็บสารสนเทศลงในคอมพิวเตอร์ ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์โดยแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นภาพ หรือตัวอักษร หรือเสียงให้ปรากฏบนจอภาพ หรือผ่านออกมาทางเครื่องพิมพ์ หรือผ่านออกมาทางลำโพง จึงจะรับรู้ได้

ชนชาติที่รู้จักเขียนหนังสือเป็นชาติแรกคือ ? สุเมเรียน ราวประมาณ 4000 กว่าปี โดยจารึกบนแผ่นดินเหนียว ชาวอียิปต์บันทึกบนแผ่นปาปิรัส ชนชาติที่ทำกระดาษใช้เองคือ ? จีน

ศัพท์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ 1. ข้อมูล (Data) หมายถึงข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความเป็นจริง หรือการคำนวณ จะมีลักษณะเป็นสัญลักษณ์ ตัวเลข หรือเป็นลักษณะของข้อความ ตัวอักษร รูปภาพ แทนการกระทำหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ สำหรับใช้ในการวินิจฉัย แต่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลดิบ

2. ความรู้ ( Knowledge ) หมายถึง ข้อมูล หรือสารสนเทศที่ได้ผ่านการวิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผล โดยอาศัยหลักการจัดเก็บ การบันทึก การแก้ไขปรับปรุงให้ทันสมัย มีการค้นหา และค้นคว้าแล้วนำไปใช้ในด้านการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทักษะทางเทคนิค และทักษะทางสังคม

วัสดุสารสนเทศ( Information Meterials ) หมายถึง วัสดุรูปแบบต่าง ๆ ที่มีการบันทึกสารสนเทศอันเป็นประโยชน์โดยใช้อักษร ภาพ สัญลักษณ์ รหัส หรือเสียง เราเรียกวัสดุสารสนเทศว่า “ทรัพยากรสารสนเทศ” ( Information Resources ) เพราะเป็นบ่อเกิดแห่งทรัพย์สินทางปัญญา วัสดุสารสนเทศแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ วัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์

4. แหล่งสารสนเทศ ( Information Sources ) หมายถึงแหล่งหรือสถานที่ที่รวบรวมสารสนเทศ เพื่อให้บริการในการศึกษาค้นคว้าวิจัย และจรรโลงใจ ตามความต้องการของผู้ใช้ 5. เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology ) หมายถึงกระบวนการและเครื่องจักรกล ตลอดจนอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดเก็บสารสนเทศเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามความต้องการของผู้ใช้ และเผยแพร่โดยใช้เครื่องจักรกลทางโทรคมนาคม และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

บทบาทของสารสนเทศ 1. พัฒนาวิทยาการ 2. พัฒนาประเทศ 3. พัฒนาการพาณิชย์ 1. พัฒนาวิทยาการ 2. พัฒนาประเทศ 3. พัฒนาการพาณิชย์ 4. พัฒนาด้านการศึกษา 5. พัฒนาด้านการเมือง 6. พัฒนาด้านอุตสาหกรรม 7. พัฒนาด้านวัฒนธรรม

ลักษณะข้อมูลสารสนเทศที่ดี 1. มีความถูกต้อง ( Accuracy ) มีคุณค่าในด้าน ความน่าเชื่อถือ ( Reliability) 2. ความครบถ้วนสมบูรณ์ ( Completeness ) 3. ความเป็นปัจจุบัน ( Up – Date ) 4. ความต่อเนื่อง ( Accumulation ) 5. กะทัดรัด ( Brief ) 6. สะดวก ( Easy to Retrieve)

แหล่งสารสนเทศ 1. แหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคล เช่น ทำเนียบนักวิจัย 1. แหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคล เช่น ทำเนียบนักวิจัย 2. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถานที่ เช่น เมืองจำลอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สวนสัตว์ดุสิต 3. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถาบัน เช่น หน่วยงานสถิติ หอจดหมายเหตุ 4. แหล่งสารสนเทศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต