บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สะสมทรัพย์ 15 ปี ชำระเบี้ย ประกันภัย 7 ปี (มีเงินปันผล)
Advertisements

มีอะไรใหม่ ค่าลดหย่อนในการอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา ของตนเองและคู่สมรส ลดภาระให้ผู้ประกอบการรายย่อยในการขยายระดับรายได้ที่ต้องจด.
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
Advance Excel.
Gain 1st 116.
Retire Smart 1st 620/60 บำนาญแบบลดหย่อนได้
เราควรมีเงินเก็บเท่าไรก่อนที่คิดจะลงทุน
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
We will chake the answer Exersies 3.4.3
อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
MARKET PLANNING DECISION
การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
งบลงทุน Capital Budgeting
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
Financial Management.
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (2)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน(1)
สหกรณ์การเกษตรปลาย พระยา จำกัด จังหวัด กระบี่. ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจ สหกรณ์การเกษตรปลายพระยา จำกัด ปี ทุนดำเนินงาน มีอัตราลดลง ร้อยละ 3.38 ทุนภายใน.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
มูลค่าเงินเทียบเท่าเท่ากันรายปี
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
Computer Programming for Engineers
Computer Programming for Engineers
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
องค์ประกอบผลประโยชน์ของรัฐ ตามระบบสัมปทานไทย(Thailand III)
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
หน้าที่ของกรมธรรม์ประกันชีวิต (สัญญาหลัก)
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 10 งบประมาณลงทุน

โจทย์พิเศษสุด ๆ ก่อนสอบ Final บริษัท ก่อนสอบ จำกัด จะพิจารณาลงทุนในโครงการผลิตสินค้าใหม่ คาดว่าตลอดเวลา 7 ปี จะทำกำไรหลังหักภาษี(เงินสดรับ) ได้ปีละ 82,000 บาท ใช้เงินลงทุนเริ่มแรก 460,000 บาท อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ 5% คำนวณหา 1. A.R.R 2. P.B. 3. N.P.V 4. P.I. 5. I.R.R พร้อมทั้งสรุปว่าจะลงทุนในโครงการนี้หรือไม่เพราะเหตุใด

เฉลย

อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย :A.R.R โจทย์พิเศษ A.R.R = กำไรสุทธิหลังหักภาษีถัวเฉลี่ย เงินลงทุนเริ่มต้น A.R.R = 82,000 X 100 460,000 17.83% A.R.R = จากการคำนวณแสดงว่าบริษัท ก่อนสอบ จำกัด ได้อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย 17.83%

ระยะเวลาคืนทุน : P.B 5.61 ปี P.B = 460,000 82,000 P.B = โจทย์พิเศษ ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุนเริ่มต้น เงินสดรับต่อปี P.B = 460,000 82,000 5.61 ปี P.B =

มูลค่าปัจจุบันสุทธิ N.P.V โจทย์พิเศษ NPV = มูลค่าปัจจุบันเงินสดเข้า - มูลค่าปัจจุบันเงินสดออก NPV = ( 82,000 x PVIFA ที่ i = 5% n = 7) - 460,000 NPV = (82,000 x 5.7864) - 460,000 NPV = 474,484.80 - 460,000 NPV = 14,484.80 โจทย์พิเศษ สามารถสรุปได้ว่า ยอมรับโครงการนี้ เพราะให้ค่า NPV มากกว่า 0 หรือ เครื่องหมายติดบวก

มีผลตอบแทนมากกว่าที่ต้องการ ความหมาย N.P.V. เครื่องหมาย + มีผลตอบแทนมากกว่าที่ต้องการ

ดัชนีการทำกำไร : P.I 474,484.80 = 1.03 460,000 P.I. = โจทย์พิเศษ การหา N.P.V. NPV = มูลค่าปัจจุบันเงินสดเข้า - มูลค่าปัจจุบันเงินสดออก NPV = 474,484.80 - 460,000 P.I. = มูลค่าปัจจุบันเงินสดรับสุทธิ มูลค่าปัจจุบันเงินสดจ่าย 474,484.80 P.I. = = 1.03 460,000

ความหมาย P.I. ลงทุน 1 บาท ตอบแทนมากกว่า 1 บาท ค่ามากกว่า 1

มีผลตอบแทนมากกว่าที่ต้องการ ความหมาย P.I. มีผลตอบแทนมากกว่าที่ต้องการ ค่ามากกว่า 1

ผลตอบแทนจากโครงการ : I.R.R โจทย์พิเศษ I.R.R = เงินสดจ่ายสุทธิเมื่อเริ่มโครงการ เงินสดรับสุทธิรายปี 460,000 I.R.R = 82,000 5.6098 I.R.R = (ค่า PV) เปิดตาราง PVIFA ดูว่าค่าที่คำนวณได้คือ 5.6098 (n = 7 ปี) อยู่ที่อัตราผลตอบแทน (i) = เท่าใด

ผลตอบแทนจากโครงการ : I.R.R จากการเปิดค่าในตาราง ณ ปีที่ 7 (n = 7) ได้ค่า IRR ดังนี้ i = 5 % ค่า IRR = 5.7864 i = 6 % ค่า IRR = 5.5824 แสดงว่าอัตราผลตอบแทนของโครงการจะอยู่ระหว่าง 5 - 6% กิจการกำหนดไว้ 5% ดังนั้นจึงยอมรับโครงการ

สรุป

1. A.R.R = 17.83% 2. P.B. = 5.61 ปี 3. N.P.V = 14,484.80 (บวก) 4. P.I. = 1.03 5. I.R.R = 5.6098 ประมาณ 6 %

สรุปว่าจะลงทุนในโครงการนี้หรือไม่เพราะเหตุใด ลงทุนในโครงการนี้ เพราะ ดัชนีการทำกำไร (P.I) มีค่ามากกว่า 1 (1.03) และ อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการ (I.R.R) มีค่ามากกว่าที่ต้องการคือ 5 % (ประมาณ 6%) รวมถึง มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (N.P.V) ก็มีค่าเป็นบวก อยู่ที่ 14,484.80 แต่ อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (A.R.R) มีค่าอยู่ที่ประมาณ 17.83 % ถือว่าค่อนข้างต่ำ และประกอบกับ ระยะเวลาคืนทุน (P.B.) มีระยะเวลาค่อนข้างนาน ประมาณ 5.61 ปี